ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dfddtdt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 53:
พระองค์โปรดที่จะประทับอยู่ในวิลลาในรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนีเป็นส่วนใหญ่ แม้หลังราชาภิเษกแล้ว<ref>{{cite news |title=Thai activists protest in front of king's German villa |url=https://www.channelnewsasia.com/news/asia/thai-activists-protest-in-front-of-kings-german-villa-13150312 |accessdate=28 September 2020 |work=CNA |language=en}}</ref> ในปี 2563 บิสซิเนสอินไซเดอร์ประเมินพระราชทรัพย์ของพระองค์ไว้ที่ 30,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทำให้พระองค์ทรงเป็นเจ้าที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก<ref>{{Cite web|url=https://www.businessinsider.com/royal-family-net-worth-worlds-richest-billionaires-ranked-2018-5|title=Meet the 10 richest billionaire royals in the world right now|first=Hillary|last=Hoffower|website=Business Insider|date=2019-07-17|accessdate=2020-01-16|archive-url=https://web.archive.org/web/20190926235349/https://www.businessinsider.com/royal-family-net-worth-worlds-richest-billionaires-ranked-2018-5|archive-date=26 September 2019|url-status=live}}</ref>
 
== ปฐมวัย ==
=== พระราชสมภพ ===
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวใน[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง]] เสด็จพระราชสมภพ ณ [[พระที่นั่งอัมพรสถาน]] [[พระราชวังดุสิต]]<ref name="พระบรม">[[ส.พลายน้อย]]. ''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม''. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: ฐานบุ๊คส์, 2554. หน้า 234</ref> เมื่อวันจันทร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 เวลา 17:45 น.<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2495/D/049/3434.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้หยุดราชการและชักธงชาติเนื่องในการที่พระราชกุมารประสูติ], เล่ม 69, ตอนที่ 49, 12 สิงหาคม พ.ศ. 2495, หน้า 2434</ref> โดยมีบันทึกว่าเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เสด็จนิวัติพระนคร ในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๔ นั้น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุมภฎพงศ์บริพัตร ได้กราบบังคมทูลในนาม ของพระราชวงศ์ มีใจความตอนหนึ่งว่า “เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชธิดา เป็นพระองค์แรกแล้วเช่นนี้ ก็ทรงหวังว่าสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ คงจะมีพระราชโอรสเป็นพระองค์ถัดไป” <ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ลาวัณย์ โชตามระ,ประสุตา| ชื่อหนังสือ = สี่เจ้าฟ้า | จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = บริษัทกันตนา พับลิชชิ่ง จำกัด | ปี = 2547| หน้า = 54}}</ref> มีพระเชษฐภคินีคือ[[ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี]] และพระขนิษฐภคินีสองพระองค์คือ[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] และ[[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี]]<ref>''จดหมายเหตุเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 28 กรกฎาคม 2555'', หน้า 10</ref>
เส้น 259 ⟶ 260:
 
จนกระทั่งวันที่ 29 พฤศจิกายน [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]ได้จัดประชุมวาระพิเศษ เพื่อรับทราบเรื่องการอัญเชิญพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ตามบทบัญญัติใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]] มาตรา 2 วรรค 2 ประกอบกับ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] มาตรา 23 วรรค 1<ref>{{Cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/797542|title=ขอทรงพระเจริญ ก้องสภาฯ สนช.ถวายพระพร|date=30 พฤศจิกายน 2559|accessdate=3 ธันวาคม 2559|publisher=[[ไทยรัฐ]]}}</ref> และ[[พรเพชร วิชิตชลชัย]] ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กราบบังคมทูลเชิญเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พระองค์มีพระราชดำรัสตอบรับการขึ้นครองราชย์อย่างเป็นทางการ<ref>{{cite web|url=http://www.posttoday.com/social/royal/468256|title=สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่(สิบ) เสด็จขึ้นทรงราชย์แล้ว|author=|date=1 ธันวาคม 2559|work=|publisher=โพสต์ทูเดย์|accessdate=2 ธันวาคม 2559}}</ref> ทั้งนี้ในทางนิตินัยถือว่าพระองค์ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=133|issue=102 ก|pages=1|title=ประกาศสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เรื่อง อัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/102/1.PDF|date=1 ธันวาคม 2559|accessdate = 1 ธันวาคม 2559|language=ไทย}}</ref> และโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระปรมาภิไธยว่า '''"สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร"'''<ref name="เฉลิมพระปรมาภิไธย">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=133|issue=102 ก|pages=2|title=ประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/102/2.PDF|date=1 ธันวาคม 2559|accessdate = 1 ธันวาคม 2559|language=ไทย}}</ref> [วะชิราลงกอน บอดินทฺระเทบพะยะวะรางกูน]
 
ในปี พ.ศ. 2560 พระองค์ทรงตราพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ โดยพระมหากษัตริย์มีอำนาจตั้งผู้อำนวยการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ตามพระราชอัธยาศัย<ref>{{ref news
| author =<!--Staff writer(s); no by-line.-->
| title = โปรดเกล้าฯ พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ ฉบับใหม่
| url = https://www.bbc.com/thai/thailand-40631098
| work = บีบีซีไทย
| location =
| date = 17 กรกฎาคม 2017
| access-date = 2019-05-12
}}</ref> ในปี พ.ศ. 2561 มีการเปลี่ยนชื่อผู้ถือหุ้นจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ด้านสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ชี้แจงว่า เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายจึงต้องมีการถวายทรัพย์สินในความดูแลคืนให้พระมหากษัตริย์มีพระบรมราชวินิจฉัย และว่าทรัพย์สินที่พระองค์เป็นเจ้าของจะมีการเสียภาษีอากรเช่นเดียวกับประชาชนทั่วไป<ref>{{ref news
| author =<!--Staff writer(s); no by-line.-->
| title = สำนักงานทรัพย์สินฯ ชี้แจงการเปลี่ยนชื่อผู้ถือหุ้นเป็นพระปรมาภิไธย ร.10
| url = https://www.bbc.com/thai/thailand-44507711
| work = บีบีซีไทย
| location =
| date = 16 มิถุนายน 2018
| access-date = 2019-05-12
}}</ref>
 
ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 พระองค์ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับพลเอกหญิง [[สุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา]] และมีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาขึ้นเป็น[[รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย|สมเด็จพระราชินี]]<ref name="ราชินี"></ref><ref name="ราชาภิเษกสมรส">{{cite web |url= https://www.prachachat.net/royal-house/news-321764 |title= “ราชาภิเษกสมรส” ร. 10 และสมเด็จพระราชินีสุทิดา |author=|date= 1 พฤษภาคม 2562 |work=ประชาชาติธุรกิจ |publisher=|accessdate= 1 พฤษภาคม 2562}}</ref>