ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dfddtdt (คุย | ส่วนร่วม)
ลบออก ไม่ได้สำคัญมากนัก
Dfddtdt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 112:
 
===กิจกรรมปั่นจักรยานเฉลิมพระเกียรติ===
 
[[ไฟล์:Vajiralongkorn 20150816.jpg|thumb|left|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมารทรงปั่นนำขบวน Bike for Mom ปั่นเพื่อแม่]]
 
เส้น 255 ⟶ 254:
== พระมหากษัตริย์ ==
{{พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี}}
=== ทรงราชย์ ===
 
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] [[การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|เสด็จสวรรคต]]ในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ตาม[[กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467]] พระองค์จะสืบราชสมบัติต่อ ทั้งพลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] นายกรัฐมนตรี ก็ยืนยันว่าพระองค์จะทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-37643326|title=Thailand's King Bhumibol Adulyadej dead at 88|publisher=BBC News|date=13 October 2016|accessdate=13 October 2016}}</ref> แต่ทรงขอผ่อนผันเนื่องจากทรงต้องการร่วมทุกข์โศกกับปวงชนชาวไทย จนกว่าจะผ่านพระราชพิธีพระบรมศพไประยะหนึ่ง <ref>{{cite web | url = https://www.voicetv.co.th/read/447837 | title = เหตุการณ์แห่งปี ร.10 ขึ้นทรงราชย์ 1 ธ.ค. 59 | date = 2017-01-01 | accessdate = 2018-08-07 | author = กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี }}</ref> พระองค์สืบราชสมบัติขณะมีพระชนมายุ 64 พรรษา นับเป็นพระมหากษัตริย์ไทยที่ทรงมีพระชนมายุมากที่สุดเมื่อสืบราชสมบัติ<ref>{{Cite web |url=http://www.mahavajiralongkorn.com/ |title=Archived copy |access-date=1 November 2016 |archive-url=https://web.archive.org/web/20161103221255/http://www.mahavajiralongkorn.com/ |archive-date=3 November 2016 |url-status=live }}</ref> พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] ประธานองคมนตรี จึงเป็น[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)|ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]โดยตำแหน่งไปพลางก่อน<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.com/news/world-asia-37654314|title=Thai king death: Thousands throng streets for procession|publisher=[[BBC]]|date=2016-10-14|accessdate=2016-10-14}}</ref> จนวันที่ 1 ธันวาคม 2559 [[พรเพชร วิชิตชลชัย]] ประธาน[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] กราบบังคมทูลเชิญเสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์มีพระราชดำรัสตอบรับการขึ้นครองราชย์อย่างเป็นทางการ<ref>{{cite web|url=http://www.posttoday.com/social/royal/468256|title=สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่(สิบ) เสด็จขึ้นทรงราชย์แล้ว|author=|date=1 ธันวาคม 2559|work=|publisher=โพสต์ทูเดย์|accessdate=2 ธันวาคม 2559}}</ref> แต่ในทางนิตินัยถือว่าพระองค์ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 13 ตุลาคม 2559<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=133|issue=102 ก|pages=1|title=ประกาศสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เรื่อง อัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/102/1.PDF|date=1 ธันวาคม 2559|accessdate = 1 ธันวาคม 2559|language=ไทย}}</ref> และโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระปรมาภิไธยว่า '''"สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร"'''<ref name="เฉลิมพระปรมาภิไธย">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=133|issue=102 ก|pages=2|title=ประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/102/2.PDF|date=1 ธันวาคม 2559|accessdate = 1 ธันวาคม 2559|language=ไทย}}</ref> [วะชิราลงกอน บอดินทฺระเทบพะยะวะรางกูน]
 
จนกระทั่งวันที่ 29 พฤศจิกายน [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]ได้จัดประชุมวาระพิเศษ เพื่อรับทราบเรื่องการอัญเชิญพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ตามบทบัญญัติใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]] มาตรา 2 วรรค 2 ประกอบกับ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] มาตรา 23 วรรค 1<ref>{{Cite web|url=http://www.thairath.co.th/content/797542|title=ขอทรงพระเจริญ ก้องสภาฯ สนช.ถวายพระพร|date=30 พฤศจิกายน 2559|accessdate=3 ธันวาคม 2559|publisher=[[ไทยรัฐ]]}}</ref> และ[[พรเพชร วิชิตชลชัย]] ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ กราบบังคมทูลเชิญเสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พระองค์มีพระราชดำรัสตอบรับการขึ้นครองราชย์อย่างเป็นทางการ<ref>{{cite web|url=http://www.posttoday.com/social/royal/468256|title=สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่(สิบ) เสด็จขึ้นทรงราชย์แล้ว|author=|date=1 ธันวาคม 2559|work=|publisher=โพสต์ทูเดย์|accessdate=2 ธันวาคม 2559}}</ref> ทั้งนี้ในทางนิตินัยถือว่าพระองค์ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=133|issue=102 ก|pages=1|title=ประกาศสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เรื่อง อัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/102/1.PDF|date=1 ธันวาคม 2559|accessdate = 1 ธันวาคม 2559|language=ไทย}}</ref> และโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระปรมาภิไธยว่า '''"สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร"'''<ref name="เฉลิมพระปรมาภิไธย">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=133|issue=102 ก|pages=2|title=ประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/102/2.PDF|date=1 ธันวาคม 2559|accessdate = 1 ธันวาคม 2559|language=ไทย}}</ref> [วะชิราลงกอน บอดินทฺระเทบพะยะวะรางกูน]
 
ในปี พ.ศ. 2560 พระองค์ทรงตราพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ โดยพระมหากษัตริย์มีอำนาจตั้งผู้อำนวยการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ตามพระราชอัธยาศัย<ref>{{ref news
| author =<!--Staff writer(s); no by-line.-->
| title = โปรดเกล้าฯ พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ ฉบับใหม่
| url = https://www.bbc.com/thai/thailand-40631098
| work = บีบีซีไทย
| location =
| date = 17 กรกฎาคม 2017
| access-date = 2019-05-12
}}</ref> ในปี พ.ศ. 2561 มีการเปลี่ยนชื่อผู้ถือหุ้นจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ด้านสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ชี้แจงว่า เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายจึงต้องมีการถวายทรัพย์สินในความดูแลคืนให้พระมหากษัตริย์มีพระบรมราชวินิจฉัย และว่าทรัพย์สินที่พระองค์เป็นเจ้าของจะมีการเสียภาษีอากรเช่นเดียวกับประชาชนทั่วไป<ref>{{ref news
| author =<!--Staff writer(s); no by-line.-->
| title = สำนักงานทรัพย์สินฯ ชี้แจงการเปลี่ยนชื่อผู้ถือหุ้นเป็นพระปรมาภิไธย ร.10
| url = https://www.bbc.com/thai/thailand-44507711
| work = บีบีซีไทย
| location =
| date = 16 มิถุนายน 2018
| access-date = 2019-05-12
}}</ref>
 
ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 พระองค์ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับพลเอกหญิง [[สุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา]] และมีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาขึ้นเป็น[[รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย|สมเด็จพระราชินี]]<ref name="ราชินี"></ref><ref name="ราชาภิเษกสมรส">{{cite web |url= https://www.prachachat.net/royal-house/news-321764 |title= “ราชาภิเษกสมรส” ร. 10 และสมเด็จพระราชินีสุทิดา |author=|date= 1 พฤษภาคม 2562 |work=ประชาชาติธุรกิจ |publisher=|accessdate= 1 พฤษภาคม 2562}}</ref>
 
=== บรมราชาภิเษก ===
{{บทความหลัก|พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562}}
เส้น 261 ⟶ 286:
ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 พระองค์ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับพลเอกหญิง [[สุทิดา วชิราลงกรณ์ ณ อยุธยา]] และมีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาขึ้นเป็น[[รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย|สมเด็จพระราชินี]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=136|issue=11 ข|pages=1|title=พระราชโองการ ประกาศ เรื่อง สถาปนาสมเด็จพระราชินี|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/B/011/T_0001.PDF|date=1 พฤษภาคม 2562|accessdate = 6 กุมภาพันธ์ 2563|language=ไทย}}</ref><ref name="ราชาภิเษกสมรส">{{cite web |url= https://www.prachachat.net/royal-house/news-321764 |title= “ราชาภิเษกสมรส” ร. 10 และสมเด็จพระราชินีสุทิดา |author=|date= 1 พฤษภาคม 2562 |work=ประชาชาติธุรกิจ |publisher=|accessdate= 1 พฤษภาคม 2562}}</ref>
 
=== บทบาททางการเมือง ===
[[ไฟล์:The_Coronation_of_King_Rama_X_B.E._2562_(A.D._2019).JPG|thumb|พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินเลียบพระนครโดยริ้ว[[กระบวนพยุหยาตราสถลมารค]] ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2562]]
 
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] [[การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|เสด็จสวรรคต]]ในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ตาม[[กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467]] พระองค์จะสืบราชสมบัติต่อ ทั้งพลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] นายกรัฐมนตรี ก็ยืนยันว่าพระองค์จะเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/news/world-asia-37643326|title=Thailand's King Bhumibol Adulyadej dead at 88|publisher=BBC News|date=13 October 2016|accessdate=13 October 2016}}</ref> แต่ทรงขอผ่อนผันเนื่องจากทรงต้องการร่วมทุกข์โศกกับปวงชนชาวไทย จนกว่าจะผ่านพระราชพิธีพระบรมศพไประยะหนึ่ง<ref>{{cite web | url = https://www.voicetv.co.th/read/447837 | title = เหตุการณ์แห่งปี ร.10 ขึ้นทรงราชย์ 1 ธ.ค. 59 | date = 2017-01-01 | accessdate = 2018-08-07 | author = กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี }}</ref> พระองค์สืบราชสมบัติขณะมีพระชนมายุ 64 พรรษา นับเป็นพระมหากษัตริย์ไทยที่ทรงมีพระชนมายุมากที่สุดเมื่อสืบราชสมบัติ<ref>{{Cite web |url=http://www.mahavajiralongkorn.com/ |title=Archived copy |access-date=1 November 2016 |archive-url=https://web.archive.org/web/20161103221255/http://www.mahavajiralongkorn.com/ |archive-date=3 November 2016 |url-status=live }}</ref> พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] ประธานองคมนตรี จึงเป็น[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)|ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]โดยตำแหน่งไปพลางก่อน<ref>{{cite web|url=http://www.bbc.com/news/world-asia-37654314|title=Thai king death: Thousands throng streets for procession|publisher=[[BBC]]|date=2016-10-14|accessdate=2016-10-14}}</ref> จนวันที่ 1 ธันวาคม 2559 [[พรเพชร วิชิตชลชัย]] ประธาน[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] กราบบังคมทูลเชิญเสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์มีพระราชดำรัสตอบรับการขึ้นครองราชย์อย่างเป็นทางการ<ref>{{cite web|url=http://www.posttoday.com/social/royal/468256|title=สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่(สิบ) เสด็จขึ้นทรงราชย์แล้ว|author=|date=1 ธันวาคม 2559|work=|publisher=โพสต์ทูเดย์|accessdate=2 ธันวาคม 2559}}</ref> แต่ในทางนิตินัยถือว่าพระองค์ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 13 ตุลาคม 2559<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=133|issue=102 ก|pages=1|title=ประกาศสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เรื่อง อัญเชิญองค์พระรัชทายาทขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/102/1.PDF|date=1 ธันวาคม 2559|accessdate = 1 ธันวาคม 2559|language=ไทย}}</ref> และโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระปรมาภิไธยว่า '''"สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร"'''<ref name="เฉลิมพระปรมาภิไธย">{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=133|issue=102 ก|pages=2|title=ประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/A/102/2.PDF|date=1 ธันวาคม 2559|accessdate = 1 ธันวาคม 2559|language=ไทย}}</ref> [วะชิราลงกอน บอดินทฺระเทบพะยะวะรางกูน]
 
พระองค์ทรงเสนอแนะให้แก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยในปี 2560<ref name=crown>{{cite web|url=https://www.reuters.com/article/us-thailand-king-coronation-idUSKBN17N0WC|title=Thai king's coronation likely by the end of 2017: deputy PM|agency=Reuters|date=21 April 2017|author=<!--not stated-->|accessdate=13 June 2017|archive-url=https://web.archive.org/web/20170426142355/http://www.reuters.com/article/us-thailand-king-coronation-idUSKBN17N0WC|archive-date=26 April 2017|url-status=live}}</ref> โดยพระองค์ทรงให้มีการแก้ไขในหมวดพระราชอำนาจ<ref>{{cite web |url=https://www.reuters.com/article/us-thailand-king-constitution-idUSKBN14X0IF |title=Thai parliament approves king's constitutional changes request, likely delaying elections |agency=Reuters |access-date=13 January 2017 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170114005604/http://www.reuters.com/article/us-thailand-king-constitution-idUSKBN14X0IF |archive-date=14 January 2017 |url-status=live }}</ref> ในปีเดียวกัน พระองค์ทรงตราพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ โดยพระมหากษัตริย์มีอำนาจตั้งผู้อำนวยการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ตามพระราชอัธยาศัย<ref>{{ref news
| author =<!--Staff writer(s); no by-line.-->
เส้น 305 ⟶ 326:
 
โฆษกรัฐบาลเยอรมันแจ้งสถานเอกอัครราชทูตไทยหลายครั้งถึงความกังวลต่อการทรงงานในต่างแดนของพระองค์<ref>{{cite news |title=โฆษกรัฐบาลเยอรมนีระบุ แจ้งทูตไทยหลายครั้งเรื่องการทรงงานในต่างแดน |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-54510808 |accessdate=12 October 2020 |work=BBC ไทย |language=th}}</ref>
== พระราชกรณียกิจ ==
== พระราชกรณียกิจ ==
 
=== ข้อวิพากย์วิจารณ์ ===
{{โครงส่วน}}
 
=== ทรงงานจากบาวาเรีย ===
{{โครงส่วน}}
 
== พระราชกรณียกิจ ==
=== ทางราชการ ===
* ทรงเข้าประจำการ ณ กองปฏิบัติการทางอากาศพิเศษ เมือง[[เพิร์ท (ออสเตรเลีย)|เพิร์ท]] [[รัฐออสเตรเลียตะวันตก]] [[ประเทศออสเตรเลีย]]
เส้น 375 ⟶ 401:
<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สำนักสภาสถาบันราชภัฏ| ชื่อหนังสือ = ๕๐ พรรษา มหาวชิราลงกรณ| จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์สถาบันราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา | ปี = 2545| หน้า = 54-54}}</ref>
 
=== ประสบการณ์ทางทหาร ===
<ref>ราชอาณาจักรสยาม, [http://www.kingdom-siam.org/family-b-a-b.html ราชการทหารของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้าชายมหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร], http://www.kingdom-siam.org</ref>
* เดือนมกราคม ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2519 ทรงเข้ารับการฝึกเพิ่มเติม และศึกษางานด้านการทหาร ณ เครือรัฐออสเตรเลีย
เส้น 392 ⟶ 418:
 
เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2552 กรมการขนส่งทางอากาศได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายใบรับรองในตำแหน่งครูฝึกภาคอากาศกับตำแหน่งครูฝึกเครื่องช่วยฝึกบิน สำหรับเครื่องบินโบอิง 737–400<ref>ราชอาณาจักรสยาม, [http://www.kingdom-siam.org/family-b-a-a.html การศึกษาของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้าชายมหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร], http://www.kingdom-siam.org</ref>
 
== พระบรมราชอิสริยยศและพระเกียรติยศ ==
{{กล่องข้อมูล พระยศ