ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dfddtdt (คุย | ส่วนร่วม)
ขออนุญาตย้อนกลับไปใช้เนื้อหาแบบเดิมก่อน เพราะเนื้อหาในบทความนี้เยินเย้อยืดยาว เหมือนบทความ propaganda มากกว่า ถ้าอยากเอามาเขียนจริงๆกรุณาสรุปมาไม่ใช่ยัดมาใส่ทั้งหมด นี่คือบทความวิกิพีเดียไม่ใช่หนังสือเทิดพระเกียรติ
Dfddtdt (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 75:
=== การศึกษา ===
[[ไฟล์:Vajiralongkorn 1962.jpg|thumb|right|200px|สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณฯ (ยืนซ้าย) ทรงพากย์-เจรจาโขน ที่โรงเรียนจิตรลดา พ.ศ. 2505]]
เมื่อทรงพระเจริญมีพระชนมายุได้ 4 พรรษา สมเด็จพระบรมชนกนาถชนกาธิราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เริ่มการถวายพระอักษร ได้ทรงเข้าศึกษาชั้นอนุบาลปีที่ 1 โรงเรียนจิตรลดา เมื่อเดือนกันยายน 2499 ในขณะนั้นโรงเรียนนี้ยังตั้งอยู่ที่พระที่นั่งอุดร พระราชวังดุสิต ต่อมาจึงได้ย้ายไปตั้งในบริเวณพระราชฐานสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลทรงศึกษาอยู่ที่โรงเรียนจิตรลดาจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๙)1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นด้วยจึงเสด็จพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อที่จะได้ดำเนินไปทรงดูแลการศึกษาของทูลกระหม่อมเจ้าฟ้าทุกพระองค์ได้อย่างใกล้ชิด<ref>{{อ้างหนังสือ|ต่อ ผู้แต่งในประเทศอังกฤษ =ที่โรงเรียนคิงส์ ลาวัณย์มีด โชตามระ,ประสุตา|เมืองซีฟอร์ด ชื่อหนังสือแคว้นซัสเซกส์ =เมื่อเดือนมกราคม สี่เจ้าฟ้า2509 | จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ต่อจากนั้นเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาที่โรงเรียนมิลฟิลด์ =เมืองสตรีท บริษัทกันตนาแคว้นซอมเมอร์เซท พับลิชชิ่งเมื่อเดือนกันยายน จำกัด |2509 จนถึงปี =2513 2547|โดยในระหว่างที่ทรงศึกษาในประเทศอังกฤษ หน้าพระองค์ได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า = 65“ทรงทำทุกอย่างด้วยพระองค์เอง - 70}}</ref> สำหรับกิจวัตรนั้น มีบันทึกไม่ว่าจะเป็นการซักฉลองพระองค์ตื่นบรรทมเวลาประมาณ 7.00หรือขัดรองพระบาท น.โดยไม่มีบุคคลอื่นให้ความช่วยเหลือ เสด็จออกกำลังกายวิ่งเล่นเฉกเช่นสามัญชนทั่วไป” ทรงจักรยาน ทรงเล่นหมากฮอส จนเวลาประมาณ 8.00 น. จึงสรงน้ำ เสวย และเสด็จไปโรงเรียนซึ่งตรงเวลาตลอด<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ลาวัณย์พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย โชตามระ,ประสุตาในพระบรมราชูปถัมภ์| ชื่อหนังสือ = สี่เจ้าฟ้า สยามมกุฎราชกุมาร| จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = บริษัทกันตนา พับลิชชิ่ง จำกัด บำรุงนุกูลกิจ| ปี = 25472517| หน้า = 65-7015}}</ref> หลังจากนั้น ทรงศึกษาต่อวิชาทหารที่โรงเรียนคิงส์สกูล [[ซิดนีย์]] [[ประเทศออสเตรเลีย]] เสร็จแล้ว ทรงศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีสาขาอักษรศาสตร์ (ด้านการทหาร) จาก[[มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์]] [[ประเทศออสเตรเลีย]] เมื่อ พ.ศ. 2519
 
เมื่อนิวัติประเทศไทยทรงรับราชการทหารแล้วทรงศึกษาต่อที่[[โรงเรียนเสนาธิการทหารบก]] รุ่นที่ 46 เมื่อ พ.ศ. 2520 ทรงเข้าศึกษาในสาขาวิชานิติศาสตร์ รุ่นที่ 2 [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] เมื่อ พ.ศ. 2525 ทรงสำเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) และ พ.ศ. 2533 ทรงได้รับการศึกษา ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรแห่งสหราชอาณาจักร<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = กรมศิลปากร กระทรวง วัฒนธรรม | ชื่อหนังสือ = “จดหมายเหตุ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 28 กรกฎาคม 2555 | จังหวัด = นครปฐม | พิมพ์ที่ = บริษัท รุ่งศิลป์ การพิมพ์ (1977) จำกัด | ปี = 2516 | หน้า = 161 }}</ref>
ในส่วนของผลการเรียน พระองค์ทรงทำคะแนนวิชาคำนวณได้คะแนนเต็มเสมอ รองลงมาคือ วิชาภาษาอังกฤษ วิชาที่โปรดมากอีกอย่างคือวาดเขียนและปั้นรูป นอกจากนี้ ทูลกระหม่อมฟ้าชายยังทรงเรียนหัดโขน โดยทรงเล่นเป็นตัวลิง ยักษ์ วิรุฬจำบังแปลง และทศกัณฑ์ และทรงโปรดฝึกฝนการขี่ม้า ซึ่งพระองค์ทรงฝึกฝนการขี่ม้าทุกเช้าวัน อาทิตย์ เวลา 7.30 น. และบ่ายวัน พฤหัสบดี เวลา 16.00 น.<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ลาวัณย์ โชตามระ,ประสุตา| ชื่อหนังสือ = สี่เจ้าฟ้า | จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = บริษัทกันตนา พับลิชชิ่ง จำกัด | ปี = 2547| หน้า = 69}}</ref> ทั้งนี้ พระบรมราชชนกไม่มีพระราชประสงค์ให้เสด็จฯ ต่างประเทศก่อนพระชนม์ 14–15 ปี เนื่องจากมีพระราชประสงค์จะรอให้ทูลกระหม่อมฟ้าชายเรียนรู้ภาษาไทยได้ดี รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีไทย และซาบซึ้งในศาสนาพุทธเสียก่อน<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ลาวัณย์ โชตามระ,ประสุตา| ชื่อหนังสือ = สี่เจ้าฟ้า | จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = บริษัทกันตนา พับลิชชิ่ง จำกัด | ปี = 2547| หน้า = 65 - 70}}</ref>
 
ทรงศึกษาอยู่ที่โรงเรียนจิตรลดาจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จึงเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาต่อ ณ โรงเรียนคิงส์ มีด เมืองซีฟอร์ด แคว้นซัสเซกส์ ประเทศอังกฤษ เมื่อเดือนมกราคม 2509 ต่อจากนั้นเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาที่โรงเรียนมิลฟิลด์ เมืองสตรีท แคว้นซอมเมอร์เซท เมื่อเดือนกันยายน 2509 จนถึงปี 2513 ซึ่งเดิมทีนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มีพระราชประสงค์ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณเสด็จไปทรงศึกษาต่อในชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนรักบี้ตามที่กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ทรงจัดหาไว้ให้แต่ทรงเปลี่ยนพระทัยเมื่อครั้งเสด็จเยี่ยมสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอฯ และผู้อำนวยการโรงเรียน คิงส์ มีด ได้ถวายการแนะนำให้ไปทรงศึกษาที่โรงเรียนมิลฟิลด์ซึ่งมีความ ทันสมัยมากกว่า <ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พ.เทียนทองดี | ชื่อหนังสือ = ทูลกระหม่อมฟ้าชาย | จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = ธรรมบรรณาคาร | ปี = 2515| หน้า = 133 - 167}}</ref> โดยในระหว่างที่ทรงศึกษาในประเทศอังกฤษ พระองค์ได้เคยให้สัมภาษณ์ว่า “ทรงทำทุกอย่างด้วยพระองค์เอง ไม่ว่าจะเป็นการซักฉลองพระองค์ หรือขัดรองพระบาท โดยไม่มีบุคคลอื่นให้ความช่วยเหลือ เฉกเช่นสามัญชนทั่วไป”<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พุทธสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์| ชื่อหนังสือ = สยามมกุฎราชกุมาร| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = บำรุงนุกูลกิจ| ปี = 2517| หน้า = 15}}</ref> พระองค์มีพระลักษณะพิเศษด้วยทรงสนพระทัยในกิจการเกี่ยวกับกองทัพอยู่เสมอตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ พระบรมราชชนกมีพระราชดำริเห็นว่า การศึกษาวิชาทหารในประเทศออสเตรเลียมีหลักสูตรสอนกว้างขวางและเข้มงวด ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2513 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์ทรงศึกษาวิชาการทหาร ณ ประเทศออสเตรเลีย<ref>{กรมศิลปากร, "สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร", กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2515. หน้า 155}</ref> ทรงเข้ารับการศึกษาระดับเตรียมทหารที่โรงเรียนคิงส์ นครซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย ทรงศึกษาอยู่จนถึงเดือนพฤษภาคม 2514 โดยในระหว่างการศึกษาพระองค์ทรงได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้าบ้านแมคอาเธอร์เฮาส์<ref>{มปท, "พระราชประวัติของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ สยามกุฎราชกุมาร", กรุงเทพฯ : มปพ. หน้า 47}</ref> โดยเวลาอยู่ในสถานศึกษาพระองค์ทรงปฏิบัติพระองค์เช่นเดียวกับสามัญชนทั่วไป ไม่มีการถือพระองค์แม้แต่น้อย จึงทรงเป็นที่เคารพนับถือของพระสหายทั่วหน้าไม่โปรดการที่จะทรงใช้สิทธิพิเศษใด ๆ เลย เพราะทรงเห็นว่าการใช้อภิสิทธิ์เป็นการเอาเปรียบผู้อื่นและแสดงความอ่อนแอ และความไม่มีความสามารถของตนเองพระองค์เคยรับสั่งแก่ผู้ใกล้ชิดเสมอว่า “คนเราต้องทำงานเพื่อแลกกับสิ่งที่ตนต้องการไม่ควรรับหรือแสวงหาสิ่งอันใด อันเป็นการได้เปล่าโดยไม่ต้องทำงาน”<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ม.ร.ว.ชนม์สวัสดิ์ ชมพูนุท | ชื่อหนังสือ = “พระราชประวัติรัชกาลที่ 9 กับ สบามมกุฎราช กุมาร | จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์พิทยาคาร, พระนคร | หน้า = 205 }}</ref>หลังจากนั้นในปี 2515 ทรงเข้าศึกษาในวิทยาลัยการทหารชั้นสูงที่วิทยาลัยการทหารดันทรูน กรุงเคนเบอร์รา ในหลักสูตรสามัญทรงเลือกศึกษาต่อในสาขาวิชาอักษรศาสตร์จนสำเร็จการศึกษาเมื่อปี 2519<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = กรมศิลปากร | ชื่อหนังสือ = จดหมายเหตุเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรวงกรณ สยามกุฎราชกุมารเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๒๘ ก.ค. ๒๕๕๕ | จังหวัด = กรุงเทพฯ | พิมพ์ที่ = รุ่งศิลป์การพิมพ์ | ปี = 2558 | หน้า = 28}}</ref>
 
เมื่อนิวัติประเทศไทยทรงรับราชการทหารแล้วทรงศึกษาต่อที่[[โรงเรียนเสนาธิการทหารบก]] รุ่นที่ 46 เมื่อ พ.ศ. 2520 ทรงเข้าศึกษาในสาขาวิชานิติศาสตร์ รุ่นที่ 2 [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] เมื่อ พ.ศ. 2525 ทรงสำเร็จการศึกษานิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) และ พ.ศ. 2533 ทรงได้รับการศึกษา ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรแห่งสหราชอาณาจักร<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = กรมศิลปากร กระทรวง วัฒนธรรม | ชื่อหนังสือ = “จดหมายเหตุ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 28 กรกฎาคม 2555 | จังหวัด = นครปฐม | พิมพ์ที่ = บริษัท รุ่งศิลป์ การพิมพ์ (1977) จำกัด | ปี = 2516 | หน้า = 161 }}</ref>
 
== สยามมกุฎราชกุมาร ==