ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Wasin147 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎สถานที่ภายในโรงเรียน: แก้ไขหัวข้ออาคารเรียนทั้งหมด โดยเรียบเรียงคำใหม่ให้มีความกระชับและเข้าใจยิ่งขึ้น
บรรทัด 154:
 
== สถานที่ภายในโรงเรียน ==
[[ไฟล์:หอธรรม ก.ท 2019.jpg|alt=|thumb|238x238px|หอธรรม โบสถ์ดีไซน์เรือโนอาห์ ]]
 
=== อาคารสามหลังแรก (พ.ศ. 2445)===
==== <big>หอธรรม</big> ====
อาคารสามหลังแรกของโรงเรียน ประกอบไปด้วย อาคารเหนือเดิม ออฟฟิซ และ อาคารใต้เดิม โดยเรียงเป็นรูปตัว U มีอาคารออฟฟิซอยู่ตรงกลาง ปัจจุบัน คือที่ตั้งของหอธรรมในปัจจุบัน และลานหน้าอาคารอารีย์ เสมประสาท อาคารทั้งสามหลังได้ถูกรื้อถอนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว <ref>{{cite book
| last = สุขุม
| first = ประสงค์
| title = 150 ปี จากกุฎีจีนถึงประมวญ มิชชันนารีกับการศึกษาไทย
| page = 105-106
| publisher = สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
| year = 2003
}}</ref>
*อาคารเหนือเดิม เป็นอาคารสองชั้น ชั้นล่างเป็นห้องเรียน ชั้นบนเป็นอาคารพักอาศัยของอาจารย์ชาวต่างชาติ อาจารย์เกลอร์ดนอกซ์ และห้องพักนักเรียนประจำ
*อาคารออฟฟิซ เป็นอาคารสองชั้น เป็นชื่อเรียกที่ทำการหลักของโรงเรียนในสมัยนั้น โดยใช้ภาษาอังกฤษในการเรียก ชั้นล่าง เป็นห้องขายหนังสือ มีครัวอยู่ด้านหลัง ห้อง ม.7, ม.8 และชั้นบนเป็นที่พักของอาจารย์ใหญ่ อาจารย์เอ็ม. บี. ปาล์มเมอร์
*อาคารใต้เดิม เป็นอาคารสองชั้น ชั้นล่างเป็นห้องเรียน, โรงสวด (หรือที่เรียกกันว่า Chapel) ชั้นบนเป็นอาคารพักอาศัยของอาจารย์ฝรั่ง มิส เอ. กอล์ต และห้องพักนักเรียนประจำ
 
[[ไฟล์:MB Palmer BCC 2019.jpg|alt=|thumb|238x238px|อาคาร เอ็ม บี ปาล์มเมอร์ สูง 4 ชั้น]]
 
==== '''<big>อาคาร เอ็ม บี ปาล์มเมอร์ (หรือ อาคาร 2 (พ.ศ. 2502)</big> ''' ====
อาคารเอ็ม. บี. ปาล์มเมอร์ เป็นอาคารเรียนสมัยใหม่ สูง 4 ชั้น โดยได้นำงบประมาณการก่อสร้าง มาจากที่ดินบ้านกล้วย โดยอาคารนี้ เป็นการสร้างอาคารทั้งหมด 4 อาคาร ติดต่อกันเป็นทางยาว เมื่อสร้างเสร็จ ถูกขนานนามว่า เป็นอาคารที่มีความสวยงาม และทันสมัยที่สุดในประเทศไทย <ref>
{{cite book
| last = อรรฆภิญญ์
| first = พิษณุ
| title = 150 ปี คบเพลิงบีซีซี
| page = 160
| publisher = โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
| year = 2001
}}
</ref> เมื่อปี พ.ศ. 2552 ได้มีการเปลี่ยนชื่อจาก อาคาร 2 ซึ่งเป็นชื่อเรียกอาคารแบบเก่า เป็น อาคารเอ็ม. บี. ปาล์มเมอร์ เนื่องจากการทุบอาคาร 1 และการมาของอาคารจอห์น เอ. เอกิ้น และในปัจจุบัน อาคารเอ็ม. บี. ปาล์มเมอร์เป็นที่ตั้งของห้อง 00, ห้องส่งเสริมระเบียบวินัยมัธยมศึกษาตอนต้น, โรงอาหาร, ห้องเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1-3, ห้องเรียนโครงการ IEP , ห้องพักครูม.1-3, ห้องทดลองวิทยาศาสตร์, และห้องแนะแนว
 
[[ไฟล์:หอธรรม ก.ท 2019.jpg|alt=|thumb|238x238px|หอธรรม โบสถ์ดีไซน์เรือโนอาห์ ]]
==== <big>หอธรรม</big> =(พ.ศ. 2514) ===
เป็นหอประชุมที่เก่าแก่และใหญ่ที่สุดของโรงเรียน และยังเป็นสัญลักษณ์ของโรงเรียนอีกด้วย สร้างเมื่อปี 2511 แล้วเสร็จปี 2514 เพื่อใช้ในศาสนพิธีของโรงเรียน ซึ่งเป็นแบบคริสต์ศาสนานิกายโปรแตสแตนท์ และการประชุมสำคัญต่างๆ ของโรงเรียน รูปร่างของหอธรรมนั้น ผู้ออกแบบใช้แนวคิด "เรือโนอาห์" ซึ่งเป็นเรือที่ปรากฏอยู่ในพระคัมภีร์ทางคริสต์ศาสนาในส่วนพันธสัญญาเดิม ว่าด้วยเหตุการณ์น้ำท่วมโลก ที่พระผู้เป็นเจ้าบันดาลให้เกิดเพื่อล้างบรรดาความชั่วร้ายบนโลกอันเกิดขึ้น และพระผู้เป็นเจ้าได้สั่งให้โนอาห์ต่อเรือใหญ่สำหรับตนและครอบครัว อีกทั้งสัตว์น้อยใหญ่ อาศัยเรือนี้ในยามน้ำท่วมโลก เมื่อน้ำลด ผู้อยู่บนเรือโนอาห์จึงเป็นผู้รอดชีวิต และสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงทุกวันนี้ หอธรรมสามารถจุคนได้กว่า 1,500 คน ด้านหลังของหอธรรมเป็นที่ตั้งของห้องศาสนกิจ และห้องประชุม 5
 
อนึ่ง ไม้กางเขนของฝ่ายโปรแตสแตนท์ จะไม่มีรูปพระเยซูถูกตรึงบนกางเขน ต่างจากไม้กางเขนของฝ่ายโรมันคาทอลิก ด้วยฝ่ายโปรแตสแตนท์ถือเรื่องการไม่นับถือรูปเคารพใดๆ มีเพียงไม้กางเขนที่เป็นสัญลักษณ์ถึงการไถ่บาปของพระเยซูแก่ผู้คนชาวโลกเท่านั้น
 
[[ไฟล์:MB Palmer BCC 2019.jpg|alt=|thumb|238x238px|อาคาร เอ็ม บี ปาล์มเมอร์ สูง 4 ชั้น]]
==== '''<big>อาคาร เอ็ม บี ปาล์มเมอร์ (อาคาร2)</big>''' ====
เป็นอาคารสูง 4 ชั้น เป็นที่ตั้งของห้อง 00, โรงอาหาร, ห้องเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ห้องเรียนโครงการ IEP , ห้องพักครู, ห้องทดลองวิทยาศาสตร์,ห้องแนะแนวประถมและห้องส่งเสริมระเบียบวินัยมัธยมต้น
 
[[ไฟล์:อาคารอารีย์ เสมประสาท BCC 2019.jpg|thumb|238x238px|อาคารอารีย์ เสมประสาท สูง 7 ชั้น]]
==== '''<big>อาคารอารีย์ เสมประสาท</big> (พ.ศ. 2525)''' ====
อาคารอารีย์ เสมประสาท หรือที่เรียกกันว่า "อาคารอารีย์" เป็นอาคารสูง 6 ชั้นครึ่ง ซึ่งสร้างมาเพื่อรองรับนักเรียนที่เพิ่มมากขึ้น และทดแทนอาคารเหนือ ซึ่งอยู่ต่ำกว่าถนน ทำให้น้ำท่วมเข้ามาในห้องเรียนได้ง่าย โดยอาคารอารีย์ เสมประสาทเป็นอาคารแห่งแรกในโรงเรียน ที่มีลิฟต์โดยสารสำหรับอาจารย์และบุคลากร ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของห้องเรียนของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2, ห้องพักครู, ห้องทดลองวิทยาศาสตร์, ห้องลูกเสือ, ห้องดนตรีไทย และห้องคอมพิวเตอร์ มีลิฟต์ 1 ตัว
 
[[ไฟล์:อาคารสิรินาถ BCC 2019.jpg|thumb|238x238px|อาคารสิรินาถ สูง 16 ชั้น]]
==== '''<big>อาคารสิรินาถ</big> (พ.ศ. 2537)''' ====
อาคารสิรินาถ หรือ อาคารศูนย์วิทยบริการ เป็นอาคารเรียนยุคใหม่ ซึ่งมีความสูง 16 ชั้น เป็นที่ตั้งห้องเรียนของนักเรียนโครงการใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอน (EIP) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6, ห้องพักครู, ฝ่ายบริหาร, ห้องประชาสัมพันธ์ทดลองวิทยาศาสตร์, ห้องการเงินคอมพิวเตอร์, ห้องทะเบียน ชุมนุมดนตรี, ห้องประชุม 1-4, สระว่ายน้ำลานกิจกรรม, ห้องสมุด ดร.สิงห์โต จ่างตระกูล(ห้องสมุดกลาง) และนอกจากนี้ ยังเป็นที่ตั้งของ ห้องฝ่ายบริหารโรงเรียน, ห้องทดลองวิทยาศาสตร์ประชาสัมพันธ์, ห้องคอมพิวเตอร์การเงิน, ชุมนุมดนตรีห้องทะเบียน , ลานกิจกรรมห้องอัดเสียง , ห้องประชุมทั้ง 4 แห่ง, สระว่ายน้ำประจำโรงเรียน, ชุดพักอาศัย และห้องพักผู้บริหาร โดยภายในอาคาร มีลิฟต์โดยสารทั้งหมด 4 ตัว
 
==== '''<big>อาคารบีซีซี 150 ปี</big> (พ.ศ. 2545)''' ====
อาคารบีซีซี 150 ปี เป็นอาคารสูง 2018 ชั้น ชั้นใต้ดิน 2 ชั้น ซึ่งสร้างขึ้นบนที่ดินสำนักงานสภาคริสตจักรในประเทศไทยเดิม โดยเป็นอาคารเดียวที่แยกตัวจากบริเวณโรงเรียน มีการสร้างสะพานลอยข้ามถนน เพื่ออำนวยความสะดวกกับนักเรียน อาคารนี้ เป็นที่ตั้งของห้องเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6, ห้องเรียนโครงการ IEP, ที่ทำการมัธยมศึกษา (ห้องประชาสัมพันธ์มัธยม), ห้องแนะแนวมัธยมศึกษา, ห้องส่งเสริมระเบียบวินัยมัธยมปลาย, ห้องพักครูของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ, ห้องสมุดมัธยม, ห้องประชุม 6-7, ห้องทดลองวิทยาศาสตร์, ห้องคอมพิวเตอร์, ห้องศูนย์วิทยาการ, ห้องเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ, ที่จอดรถใต้ดิน, ห้องเก็บอุปกรณ์สำหรับเชียร์และแปรอักษร และหอพักนักเรียนประจำ มีลิฟต์โดยสารทั้งหมด 6 ตัว 2 ตัวเป็นลิฟต์อาจารย์ขึ้นชั้น 10-19
 
[[ไฟล์:อาคารในกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย .jpg|alt=|thumb|238x238px|อาคารจอห์น เอ. เอกิ้น สูง 16 ชั้น อยู่ด้านหลังหอธรรม]]
==== '''<big>อาคารจอห์น เอ. เอกิ้น</big> (พ.ศ. 2552) ''' ====
อาคารจอห์น เอ. เอกิ้น หรือที่เรียกสั้นๆกันว่า "อาคารเอกิ้น" เป็นอาคารเรียนประถมศึกษาสูง 16 ชั้น (รวมชั้นลอย หรือ ชั้นM) และชั้นใต้ดิน 2 ชั้น ซึ่งเป็นที่ตั้งของห้องเรียนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่3-6 เปิดใช้ส่วนของห้องเรียนเมื่อ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดป้ายอาคารเมื่อวันจันทร์ที่ 29 พฤศจิกายน 2553 อาคารจอห์นนี้ถูกออกแบบมาให้มีความทันสมัย เอ.เอกิ้นเป็นที่ตั้งของและสิ่งอำนวยความสะดวกอย่างครบถ้วน มีห้องเรียนของนักเรียนระดับปฎิบัติการคอมพิวเตอร์และห้องทดลองวิทยศาสตร์ ที่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-67, ห้องสมุดปัญญาจารย์, ห้องปฏิบัติการ,ซึ่งตั้งอยู่ที่ชั้น ห้องทดลองวิทยาศาสตร์8, ห้องคอมพิวเตอร์ปฎิบัติการศิลปะและนาฎศิลป์ ตั้งอยู่ที่ชั้น9, ห้องประชุมใหญ่, โรงยิมห้องภาพยนตร์ และโถงประชุมที่ชั้น 10 และ 11, โครงการหอประวัติศาสตร์โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย (BCC Inspiration Hall,) ห้องวีดิทัศน์ที่ชั้น 12, และ สนามฟุตซอล,สนามฟุตบอล,สนามบาสเกตบอล ตั้งอยู่ที่จอดรถใต้ดินชั้น13-15 ตามลำดับ โดยอาคารนี้มีลิฟต์โดยสารทั้งหมด 76 ตัว 1ตัวเป็นของครูและลิฟต์บริการ จอดชั้น(Service BLift) และ1 Mตัว
 
==== <big>สถานที่อื่นๆภายในโรงเรียน</big> ====
 
==== <big>สถานที่อื่นๆภายในโรงเรียน</big> ====
*'''ลานชงโค''' เป็นลานอเนกประสงค์ ตั้งอยู่ระหว่างอาคารเอ็ม บี ปาล์มเมอร์ และอาคารสิรินาถ ร่มรื่นด้วยต้นไม้ มีโต๊ะและเก้าอี้ไม้สำหรับนั่งพัก พร้อมด้วยเวทีเล็ก ซึ่งในเวลาพักจะมีการจัดกิจกรรมสำหรับนักเรียน มีสนามเปตองเล็กๆ ข้างๆลานชงโค
 
====ห้องสมุด====
*'''สวนน้ำตก''' เป็นสวนสวยที่ร่มรื่นด้วยต้นไม้และดอกไม้นานาชนิด ตั้งอยู่ข้างโรงอาหาร
*'''ห้องสมุด'''โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ปัจจุบันมีสามแห่งคือ ได้แก่ อาคารจอห์น เอ.เอกิ้น (ห้องสมุดปัญญาจารย์), อาคารสิรินาถ (ห้องสมุด ดร.สิงห์โต จ่างตระกูล) และอาคารบีซีซี 150 ปี (ห้องสมุดมัธยม) ภายในแยกหมวดหมู่หนังสืออย่างชัดเจน รวมทั้งหนังสือพิมพ์และนิตยสารต่างๆ สำหรับนักเรียนเพื่อให้รับรู้ข่าวสารต่างๆ พร้อมด้วยระบบยืม-คืน คอมพิวเตอร์พร้อมอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงสำหรับนักเรียนเพื่อใช้สืบค้นหาข้อมูลและหาความรู้ระหว่างช่วงเวลาพักและหลังเลิกเรียน ห้อง Conference Room ซึ่งจะเปิดสารคดีและภาพยนตร์ต่างๆในระหว่างเวลาพักและหลังเลิกเรียน มุมยืมซีดีภาพยนตร์และโปรแกรม มุมถ่ายเอกสาร พร้อมกล้องวงจรปิดภายในห้องสมุดเพื่อรักษาความปลอดภัยและป้องกันการขโมยหนังสือ
 
====สนามฟุตบอล====
*'''โรงอาหาร''' มีร้านอาหารร่วม 20 ร้าน ซึ่งมีทั้งข้าว, ก๋วยเตี๋ยว, เบเกอร์รี่, ผลไม้, เครื่องดื่ม และไอศกรีม
สนามฟุตบอลเดิม มีความยาวขนานกับถนนสาทรเหนือ ตั้งฉากกับถนนประมวญ ซึ่งอยู่ระหว่างอาคารเหนือ อาคารวิทยศาสตร์ และตึกใต้เดิม แต่หลังจากที่มีการสร้างอาคารเอ็ม. บี. ปาล์มเมอร์ สนามฟุตบอล ได้เปลี่ยนทิศทางมาตั้งฉากกับถนนสาทรเหนือ ขนานกับถนนประมวญ โดยเมื่อปี พ.ศ. 2553 โรงเรียนได้ปรับปรุงสนามฟุตบอลครั้งใหญ่ โดยเปลี่ยนจากสนามหญ้าดิน เป็นสนามหญ้าเทียม เนื่องจากสนามฟุตบอลดินเมื่อฝนตกสนามจะเต็มไปด้วยดินและโคลน เมื่อนักเรียนเข้าไปทำกิจกรรม หญ้าบางส่วนอาจมีความเสียหาย และใช้เวลานานในการปลูกหญ้า
 
====ลานชงโค====
*'''ห้องสมุด''' มีสามแห่งคืออาคารจอห์น เอ.เอกิ้น (ห้องสมุดปัญญาจารย์), อาคารสิรินาถ (ห้องสมุด ดร.สิงห์โต จ่างตระกูล) และอาคารบีซีซี 150 ปี (ห้องสมุดมัธยม) ภายในแยกหมวดหมู่หนังสืออย่างชัดเจน รวมทั้งหนังสือพิมพ์และนิตยสารต่างๆ สำหรับนักเรียนเพื่อให้รับรู้ข่าวสารต่างๆ พร้อมด้วยระบบยืม-คืน คอมพิวเตอร์พร้อมอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงสำหรับนักเรียนเพื่อใช้สืบค้นหาข้อมูลและหาความรู้ระหว่างช่วงเวลาพักและหลังเลิกเรียน ห้อง Conference Room ซึ่งจะเปิดสารคดีและภาพยนตร์ต่างๆในระหว่างเวลาพักและหลังเลิกเรียน มุมยืมซีดีภาพยนตร์และโปรแกรม มุมถ่ายเอกสาร พร้อมกล้องวงจรปิดภายในห้องสมุดเพื่อรักษาความปลอดภัยและป้องกันการขโมยหนังสือ
*'''ลานชงโค''' เป็นลานอเนกประสงค์ ตั้งอยู่ระหว่างอาคารเอ็ม บี ปาล์มเมอร์ และอาคารสิรินาถ ร่มรื่นด้วยต้นไม้ มีโต๊ะและเก้าอี้ไม้สำหรับนั่งพัก พร้อมด้วยเวทีเล็ก ซึ่งในเวลาพักจะมีการจัดกิจกรรมสำหรับนักเรียน มีสนามเปตองเล็กๆ ข้างๆลานชงโค ภายในลานชงโค มีสถาปัติยกรรมเซรามิค โดยอาจารย์[[แสงอรุณ รัตกสิกร]] ซึ่งเป็นเพียงหนึ่งในสามผลงาน ที่ยังเหลืออยู่ในภายในโรงเรียน
 
====โรงอาหาร====
*'''Book Store''' ร้านขายเครื่องเขียน และอุปกรณ์ประกอบการเรียนต่างๆ ตั้งอยู่ในลานชงโค
*'''โรงอาหาร'''โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน ตั้งอยู่ที่ชั้น 1 อาคารเอ็ม. บี. ปาล์มเมอร์ เป็นโรงอาหารเปิดโล่ง มีร้านอาหารร่วม 20 ร้าน ซึ่งมีทั้งข้าว, ก๋วยเตี๋ยว, เบเกอร์รี่, ผลไม้, เครื่องดื่ม และไอศกรีม
 
====สวนน้ำตก====
*'''สะพานลอยเชื่อมอาคารบีซีซี 150 ปี''' เป็นทางเดินยกระดับซึ่งเชื่อมระหว่างอาคาร 2 ไปสู่อาคารบีซีซี 150 ปีซึ่งมี 3 ทางขึ้น-ลง เพื่อความสะดวกและปลอดภัยของนักเรียน
*'''สวนน้ำตก''' เป็นสวนสวยที่ร่มรื่นด้วยต้นไม้และดอกไม้นานาชนิด ซึ่งถูกปรับปรุงจากบริเวณรกเดิม ให้มีความสวยงาม ตั้งอยู่ข้างโรงอาหาร
 
====Book Store====
*'''สนามฟุตบอล''' จากเมื่อก่อนที่เป็นสนามฟุตบอลดิน ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นสนามหญ้าเทียม เนื่องจากสนามฟุตบอลดินเมื่อฝนตกสนามจะเต็มไปด้วยดินและโคลน ประกอบกับนักเรียนชอบดึงหญ้าเล่นตอนมีกิจกรรมต่างๆ ทำให้สนามเสียหาย โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มทำการสร้างสนามหญ้าเทียมขึ้นเมื่อประมาณปี 2553-2554
*'''Book Store''' ร้านขายเครื่องเขียน และอุปกรณ์ประกอบการเรียนต่างๆ ตั้งอยู่ในลานชงโค
 
====สะพานลอยเชื่อมอาคารบีซีซี 150 ปี====
*'''ความปลอดภัย''' ภายในโรงเรียนมีระบบความรักษาความปลอดภัยอย่างดี โดยทุกประตูเข้า-ออก และในลิฟต์จะมีกล้องวงจรปิดซ่อนอยู่เพื่อดูแลความเรียบร้อยและป้องกันอันตรายต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นได้ โรงเรียนมีการเพิ่มมาตรการ ตรวจสอบ ผู้ที่เข้า-ออกบริเวณโรงเรียน เพื่อให้นักเรียน และบุคคลากร ภายในโรงเรียน
*'''สะพานลอยเชื่อมอาคารบีซีซี 150 ปี''' เป็นทางเดินยกระดับซึ่งเชื่อมระหว่างอาคาร 2 ไปสู่อาคารบีซีซี 150 ปีซึ่งมี 3 ทางขึ้น-ลง เพื่อความสะดวกและปลอดภัยของนักเรียน
 
== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง ==