ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เวลามาตรฐานไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Puppykung999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ประเทศไทย]]ใช้เวลามาตรฐานโดยนับจากเวลาสากลเชิงพิกัด แล้วเพิ่มไปอีก [[UTC+07:00|7 ชั่วโมง]] เวลามาตรฐานไทยเป็นเวลาเดียวกับเวลามาตรฐาน[[ดินแดนครัสโนยาสค์|ครัสโนยาสค์]] ([[รัสเซีย]]) เวลามาตรฐานฮอฟด์ ([[ประเทศมองโกเลีย|มองโกเลีย]]) เวลามาตรฐาน[[อินโดจีน]] ([[ลาว]] [[กัมพูชา]] [[เวียดนาม]]) เวลามาตรฐาน[[อินโดนีเซีย]]ตะวันตก และเวลามาตรฐาน[[เกาะคริสต์มาส]] ([[ออสเตรเลีย]]) ซึ่งประเทศไทยใช้เขตเวลาเดียวกันทั้งปีทั่วประเทศโดยไม่มี[[เวลาออมแสง]]
 
ก่อนหน้านี้ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2423 - 1 เมษายน พ.ศ. 2463 ไทยใช้เวลาโดยนับจากเวลาสากลเชิงพิกัด แล้วเพิ่มไปอีก [[เวลามาตรฐานกรีนิช|GMT]]+6:42:04 ชั่วโมง เป็นเวลามาตรฐานของไทยที่กำหนดใช้มากว่า 40 ปี โดยวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2463 ประเทศไทยได้ตั้งเวลาเร็วขึ้น 17 นาที 56 วินาที เพื่อให้เวลามาตรฐานอยู่ที่ +7:00 ดั่งที่ใช้ในปัจจุบัน และตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2533 คณะรัฐมนตรีได้มอบหมายให้[[กองทัพเรือไทย|กองทัพเรือ]] โดยกรมอุทกศาสตร์ เป็นผู้ดูแลเวลามาตรฐานไทย โดยอ้างอิงจาก[[นาฬิกาอะตอม]]จำนวนห้าเรือน ที่กองทัพเรือเป็นผู้ดูแลคีีถึัรัค่ัถป่ัตตรเวสุ
 
==ดูเพิ่ม==