ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซูสีไทเฮา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9030459 โดย ES Geqias: มีรูปถ่าย ก็ควรใช้รูปถ่าย มากกว่ารูปวาด เพราะแสดงตัวตนทางประวัติศาสตร์ได้ดีกว่าด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น}}
{{Infobox royalty
| name = ฉือสี่ไท่โฮ่วซูสีไทเฮา {{smaller|([[ภาษาจีนมาตรฐานฮกเกี้ยน|มาตรฐานฮกเกี้ยน]])}} <br> ซูสีไทเฮาฉือสี่ไท่โฮ่ว {{smaller|([[ภาษาจีนฮกเกี้ยนมาตรฐาน|ฮกเกี้ยนมาตรฐาน]])}}
| image = The Ci-Xi Imperial Dowager Empress (5).JPG
| image_size = 250px
| succession1 = [[หฺวังไท่โฮ่วราชวงศ์ชิงฮองไทเฮาชวงศ์ชิง|หฺวังไท่โฮ่วฮองไทเฮา]] (皇太后; "พระบรมราชชนนีพระพันปีหลวง")
| reign-type1 = ระยะเวลา
| reign1 = 22 สิงหาคม ค.ศ. 1861 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908
| predecessor1 = [[ฉืออันไท่โฮ่ว]] (慈安皇太后)
| successor1 = [[จักรพรรดินีหลงยฺวี่|หลงยฺวี่ไท่โฮ่วยฺวี่ไทเฮา]] (隆裕太后)
| succession2 = [[ไท่หฺวังไท่โฮ่วไทฮองไทเฮาราชวงศ์ชิง|ไท่หฺวังไท่โฮ่วไทฮองไทเฮา]] (太皇太后; "พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า")
| reign-type2 = ระยะเวลา
| reign2 = ค.ศ. 1908
| predecessor2 = [[เจาเชิ่งไท่หฺวังไท่โฮ่วเชิ่งไทฮองไทเฮา]] (昭圣太皇太后)
| successor2 = – (ยุบจักรวรรดิ)
| father = [[ฮุ่ยเจิง]] (惠徵)
บรรทัด 28:
}}
 
'''ฉือสี่ไท่โฮ่วซูสีไทเฮา''' ตาม[[ภาษาจีนมาตรฐานฮกเกี้ยน]] หรือ '''ซูสีไทเฮาฉือสี่ไท่โฮ่ว''' ตาม[[ภาษาจีนฮกเกี้ยนมาตรฐาน]] ({{zh|c=慈禧太后|p=Cíxǐ Tàihòu}}; 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาว[[แมนจู]]ช่วง[[ราชวงศ์ชิง]] (清朝) ของ[[จักรวรรดิจีน]] จาก[[สกุลเย่เฮ่อน่าลา]] (葉赫那拉氏) แห่งกอง[[ธงเหลืองมีขอบ]] (鑲黃旗) ใน[[แปดกองธง]] (八旗) ได้เป็น[[หฺวังโฮ่วฮองเฮาราชวงศ์ชิง|หฺวังโฮ่วฮองเฮา]] (皇后; "พระจักรพรรดินี") ในฐานะพระมเหสีของ[[จักรพรรดิเสียนเฟิง]] (咸豐帝) และได้เป็น[[หฺวังไท่โฮ่วฮองไทเฮาราชวงศ์ชิง|หฺวังไท่โฮ่วฮองไทเฮา]] (皇太后; "ราชมหาเทวี") และ[[ไท่หฺวังไท่โฮ่วไทฮองไทเฮาราชวงศ์ชิง|ไท่หฺวังไท่โฮ่วไทฮองไทเฮา]] (太皇太后; "อัครราชมหาเทวี") ในฐานะพระมารดาของ[[จักรพรรดิถงจื้อ]] (同治帝) และพระมารดาบุญธรรมของ[[จักรพรรดิกวังซฺวี่]] (光緒帝) ทั้งได้สำเร็จราชการแทนจักรพรรดิทั้งสอง จึงปกครองประเทศโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต่ ค.ศ. 1861 จนสิ้นพระชนม์ใน ค.ศ. 1908
 
ในวัยเยาว์ พระนางได้รับเลือกเป็นพระชายาของจักรพรรดิเสียนเฟิง และให้กำเนิดพระโอรส คือ [[ไจ้ฉุน]] (載淳) ใน ค.ศ. 1856 ต่อมาใน ค.ศ. 1861 จักรพรรดิเสียนเฟิงสิ้นพระชนม์ ไจ้ฉุนซึ่งยังเล็กได้เสวยราชย์เป็นจักรพรรดิถงจื้อ พระนางยึดอำนาจรัฐจาก[[กู้มิ่งปาต้าเฉิน|องคมนตรี]] แล้วขึ้นสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิพระองค์น้อยพร้อมด้วย[[ฉืออันไท่โฮ่วซูอันไทเฮา]] (慈禧太后) พระอัครมเหสีของจักรพรรดิเสียนเฟิง ครั้นจักรพรรดิถงจื้อสิ้นพระชนม์ใน ค.ศ. 1875 พระนางก็ยก[[ไจ้เถียน]] (載湉) หลานของพระนางเอง ขึ้นสืบราชสมบัติต่อเป็นจักรพรรดิกวังซฺวี่ โดยมีพระนางสำเร็จราชการแทนต่อไป ซึ่งขัดต่อกฎการสืบราชบัลลังก์ของราชวงศ์
 
แม้พระนางจะไม่ยอมรับรูปแบบการปกครองแบบตะวันตก แต่พระนางก็สนับสนุน[[ทัพใหม่|การปฏิรูปทางทหาร]]และทางวิทยาการ รวมถึง[[ขบวนการสร้างตนให้แกร่ง]] (自強運動) พระนางยังเห็นชอบกับหลัก[[การปฏิรูปร้อยวัน]] (百日維新) เมื่อ ค.ศ. 1898 แต่ก็เกรงว่า การเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันโดยปราศจากความสนับสนุนของข้าราชการนั้นจะนำมาซึ่งความโกลาหล ทั้งจะเป็นโอกาสให้มหาอำนาจญี่ปุ่นและชาติอื่น ๆ เข้าแทรกแซง เมื่อจักรพรรดิกวังซฺวี่สนับสนุนนักปฏิรูปหัวรุนแรง และพระนางเชื่อว่า จักรพรรดิพยายามจะลอบสังหารพระนาง พระนางจึงจับจักรพรรดิไปขังไว้ ณ [[ตำหนักหาน-ยฺเหวียน]] (涵元殿) บนเกาะ[[อิ๋งไถ]] (瀛台) กลางสระน้ำใน[[พระที่นั่งจงหนานไห่]] (中南海) และให้ประหารนักปฏิรูปหัวรุนแรง ภายหลัง [[กบฏนักมวย]] (庚子拳亂) เป็นชนวนให้มหาอำนาจต่างชาติในนาม "[[พันธมิตรแปดชาติ]]" (八國聯軍) เข้ารุกรานประเทศ พระนางสนับสนุนให้กบฏนักมวยออกเข่นฆ่าต่างชาติ และประกาศสงครามกับผู้รุกราน แต่เมื่อพ่ายแพ้ พระนางจึงหันมาเป็นมิตรกับชาวต่างชาติ และเริ่มนโยบายที่เรียก "[[การปกครองแบบใหม่]]" (新政) เพื่อนำประเทศไปสู่ระบอบการปกครองแบบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] ทว่า ใน ค.ศ. 1908 พระนางสิ้นพระชนม์ก่อนการปฏิรูปจะเป็นผล ราชสำนักตกอยู่ในเงื้อมมือของกลุ่มอนุรักษนิยม โดยมี[[ผู่อี๋]] (溥儀) จักรพรรดิเด็ก อยู่บนบัลลังก์ ทั้งประชาชนลุกฮือขึ้นต่อต้านการปกครองไม่หยุดหย่อน นำไปสู่การสิ้นสุดของระบอบกษัตริย์ราชวงศ์ชิงเมื่อประเทศกลายเป็นสาธารณรัฐใน ค.ศ. 1912
บรรทัด 45:
* น้องชายสามคน
** น้องชายคนที่สอง: กุ้ยเสียง (桂祥; ค.ศ. 1849–1913), ดำรงตำแหน่ง[[ตูถ่ง]] (都統) ในกองทัพ, มีฐานันดรศักดิ์ "ซันเติ้งกง" เหมือนบิดา
*** บุตรสาว: [[จักรพรรดินีหลงยฺวี่|จิ้งเฟิน]] (靜芬; ค.ศ. 1868–1913), ภายหลัง คือ [[จักรพรรดินีหลงยฺวี่|หลงยฺวี่ไท่โฮ่วยฺวี่ไทเฮา]] (隆裕太后)
* น้องสาว: [[หว่านเจิน]] (婉貞; ค.ศ. 1841–1896)
** บุตรชาย: [[ไจ้เถียน]] (載湉; ค.ศ. 1871–1908), ภายหลัง คือ [[จักรพรรดิกวังซฺวี่]] (光緒帝)
บรรทัด 95:
! colspan=4 | รัชศก[[จักรพรรดิถงจื้อ|ถงจื้อ]] (同治; ค.ศ. 1861–1875)
|-
| ซูสีฮองไทเฮา (ฮกเกี้ยน)/ฉือสี่หฺวังไท่โฮ่ว (มาตรฐาน) (慈禧皇太后)
| รัชศกเสียนเฟิง ปีที่ 11 เดือน 7 วันที่ 17
| 22 สิงหาคม ค.ศ. 1861
| ในฐานะพระมารดาของจักรพรรดิ ได้รับยศพระชนนีพันปีหลวง คือ "ฮองไทเฮา/หฺวังไท่โฮ่ว" (皇太后; "จักรพรรดินีพระพันปีหลวง") และได้รับราชทินนาม "ซูสี/ฉือสี่" (慈禧; "การุญเปี่ยมสุข") จึงเรียก "ฉือสี่หวังไท่โฮ่วซูสีฮองไทเฮา/ฉือสี่หฺวังไท่โฮ่ว" เรียกโดยย่อว่า "ซูสีไทเฮา/ฉือสี่ไท่โฮ่ว" (慈禧太后) นอกจากนี้ ใน ค.ศ. 1861 นั้นเอง ยังได้รับการเฉลิมพระนามเจ็ดครั้ง ครั้งละสองอักษร เมื่อสิ้นรัชกาลถงจื้อ จึงมีพระนามถึง 16 อักษร แต่ในฐานะหฺวังไท่โฮ่วฮองไทเฮา พระนางมีสิทธิได้รับการเฉลิมพระนามอีกเก้าครั้ง รวมทั้งสิ้นไม่เกิน 20 อักษร ครั้นสิ้นพระชนม์ พระนางจึงมีพระนามยาวเหยียดว่า "ต้าชิงกั๋ว ตังจิน ฉือสี่ ตวันโย่ว คังอี๋ เจาอวี้ จวังเฉิง โช่วกง ชินเสี่ยน ฉงซี เชิ่งหมู่หฺวังไท่โฮ่ว" (大清國當今慈禧端佑康頤昭豫莊誠壽恭欽獻崇熙聖母皇太后) ย่อว่า "ต้าชิงกั๋ว ตังจิน เชิ่งหมู่หฺวังไท่โฮ่ว" (大清國當今聖母皇太后)
|-
! colspan=4 | รัชศก[[จักรพรรดิกวังซฺวี่|กวังซฺวี่]] (宣統; ค.ศ. 1875–1908)
|-
| ซูสีไทฮองไทเฮา (ฮกเกี้ยน)/ฉือสี่ไท่หฺวังไท่โฮ่ว (มาตรฐาน) (慈禧太皇太后)
| รัชศกกวังซฺวี่ ปีที่ 34 เดือน 10 วันที่ 21
| 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908
| เลื่อนเป็นยศเป็นพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า คือ "ไทฮองไทเฮา/ไท่หฺวังไท่โฮ่ว" (太皇太后; "พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า") ราชทินนามตามเดิม จึงเรียก "ซูสีไทฮองไทเฮา/ฉือสี่ไท่หฺวังไท่โฮ่ว" ทั้งนี้ เพียงหนึ่งวันก่อนสิ้นพระชนม์
|-
! colspan=4 | รัชศก[[จักรพรรดิผู่อี๋|เซฺวียนถ่ง]] (宣統; ค.ศ. 1908–1912)
บรรทัด 129:
ใน ค.ศ. 1854 พระนางได้รับเลื่อนขึ้นขั้น 5 ฐานันดรศักดิ์ "อี้ผิน" (懿嬪) ครั้น ค.ศ. 1855 พระนางทรงพระครรภ์ และในวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 1856 ประสูติพระโอรส คือ [[ไจ้ฉุน]] จากนั้น พระนางได้รับเลื่อนขึ้นขั้น 4 มีฐานันดรศักดิ์ว่า "อี้เฟย์" (懿妃)<ref>Laidler, Keith (2003), "The Last Empress" (p. 58), John Wiley & Sons Inc., {{ISBN|0-470-84881-2}}.</ref> ใน ค.ศ. 1857 ไจ้ฉุนพระชันษาครบ 1 ปี พระนางซึ่งเป็นพระมารดาของไจ้ฉุนได้รับเลื่อนขึ้นขั้น 3 ฐานันดรศักดิ์ว่า "อี้กุ้ยเฟย์" (懿貴妃) มีศักดิ์เป็นรองเพียงนางหนิ่วฮู่ลู่
 
ข้อที่ทำให้พระนางฉือสี่ซูสีแตกต่างจากหญิงทั่วไปในราชสำนัก คือ พระนางอ่านออกเขียนได้ ความสามารถนี้ทำให้พระนางได้รับโอกาสมากมายในการช่วยเหลือราชกิจรายวันของจักรพรรดิเสียนเฟิงที่พระพลานามัยย่ำแย่ ปรากฏหลายครั้งว่า จักรพรรดิทรงให้พระนางอ่านฎีกาถวาย ทั้งให้วินิจฉัยฎีกาตามพระราชประสงค์ เป็นเหตุให้พระนางได้รับประสบการณ์ในการบริหารราชการแผ่นดิน<ref>[http://www.56.com/u11/v_MjYwNjk3NjI.html 56.com] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20131215082807/http://www.56.com/u11/v_MjYwNjk3NjI.html |date=15 December 2013 }}</ref>
 
==การสวรรคตของจักรพรรดิเสียนเฟิง==
บรรทัด 137:
เมื่อสิ้นจักรพรรดิเสียนเฟิงแล้ว พระโอรส[[ไจ้ฉุน]] พระชนม์ 5 ชันษา ก็ได้สืบราชสมบัติต่อเป็น[[จักรพรรดิถงจื้อ]] เชื่อกันว่า ก่อนสิ้นพระชนม์ จักรพรรดิเสียนเฟิงทรงเรียกพระชายา คือ พระนาง กับนางหนิ่วฮู่ลู่ มาเข้าเฝ้าข้างพระที่ แล้วประทานตราให้ ด้วยมุ่งหวังให้ช่วยกันประคับประคองจักรพรรดิพระองค์ใหม่ซึ่งยังทรงพระเยาว์นัก บ้างก็ว่า ที่ทรงทำเช่นนั้นเพื่อให้พระชายาทั้งสองเข้ามาคานอำนาจผู้สำเร็จราชการทั้งแปด แต่เรื่องราวเหล่านี้ไม่มีหลักฐานยืนยัน<ref>[Sui Lijuan: Carrying out the Coup. CCTV-10 Series on Cixi, Ep. 4]</ref>
 
เมื่อจักรพรรดิถงจื้อขึ้นเสวยราชย์แล้ว พระนาง ในฐานะพระมารดา ก็ได้เลื่อนเป็น[[#ฐานันดรศักดิ์|หฺวังไท่โฮ่วฮองไทเฮา]] ฐานันดรศักดิ์ว่า "ฉือสี่หฺวังไท่โฮ่วซูสีฮองไทเฮา" มักย่อว่า "ฉือสี่ไท่โฮ่วซูสีไทเฮา" นอกจากนี้ ยังมักเรียกว่า "ไซไทเฮา" (ฮกเกี้ยน) หรือ "ซีไท่โฮ่ว" (มาตรฐาน) (西太后; "มหาเทวีตะวันตก") เพราะประทับ[[ตำหนักฉู่ซิ่ว]] (储秀宫) ซึ่งอยู่ทางตะวันตก เวลานั้น พระนางอายุ 27 ปี ส่วนนางหนิ่วฮู่ลู่ อายุ 25 ปี ในฐานะพระอัครมเหสีของพระบิดา ก็ได้เป็นหฺวังไท่โฮ่วเช่นกันฮองไทเฮาเช่นกัน ฐานันดรศักดิ์ "[[ฉืออันไท่โฮ่วซูอันไทเฮา|ฉืออันหฺวังไท่โฮ่วซูอันฮองไทเฮา]]" มักย่อว่า "ฉืออันไท่โฮ่วซูอันไทเฮา" นอกจากนี้ ยังมีกเรียกว่า "ตังไทเฮา" (ฮกเกี้ยน) หรือ "ตงไท่โฮ่ว" (มาตรฐาน) (東太后; "มหาเทวีตะวันออก") เพราะประทับ[[ตำหนักจงชุ่ย]] (锺粹宫) ซึ่งอยู่ทางตะวันออก
 
==รัฐประหารซินโหย่ว==
 
ในเวลาที่จักรพรรดิเสียนเฟิงสิ้นพระชนม์นั้น พระนางฉือสี่ซูสีก็เจนจัดในการเมืองมากแล้ว ขณะรอฤกษ์เคลื่อนพระศพจากเร่อเหอกลับปักกิ่ง พระนางก็วางแผนยึดอำนาจการปกครองกับข้าราชการและพระญาติพระวงศ์จำนวนหนึ่ง พระนาง ในฐานะพระมารดาของจักรพรรดิพระองค์ใหม่ ย่อมไม่มีอำนาจทางการเมืองโดยตำแหน่ง นอกจากนี้ พระโอรสที่ขึ้นเสวยราชย์ก็ยังเยาว์นัก ไม่มีอำนาจโดยพระองค์เอง เพื่อให้การลุล่วง พระนางจึงจำต้องแสวงหาความร่วมมือจากผู้ทรงอำนาจคนอื่น ๆ เช่น พระนางฉืออันซูอัน ซึ่งสนิทสนมกันมาตั้งแต่แรกเข้าวังแล้ว<ref name="Edward Behr 1987, p. 45">Edward Behr, ''The Last Emperor'', 1987, p. 45</ref>
 
คณะองคมนตรีเองก็ไม่ชอบใจที่พระนางฉือสี่ซูสีเป็นสตรีแต่เข้ามามีบทบาททางการเมือง ทำให้เกิดความตึงเครียดระหว่างสองฝ่ายอยู่เนือง ๆ การเผชิญหน้ากันบ่อยครั้งทำให้พระนางฉือซูอันไม่สบายพระทัย และมักไม่เข้าร่วมประชุมขุนนาง ทำให้พระนางฉือสี่ซูสีต้องรับมือกับองคมนตรีทั้งแปดแต่ผู้เดียว ระหว่างเตรียมดำเนินการตามแผนนั้น พระนางฉือสี่ซูสีก็รวบรวมการสนับสนุนจากข้าราชการทหารพลเรือนที่มากความสามารถ รวมถึงบุคคลอื่น ๆ ที่ระหองระแหงกับเหล่าองคมนตรีด้วยไม่ว่าด้วยเหตุผลส่วนตัวหรือเหตุผลการทางการเมืองก็ตาม ในจำนวนนี้มีองค์ชาย[[อี้ซิน]] (奕訢) พระอนุชาพระองค์ที่หกของจักรพรรดิเสียนเฟิงซึ่งต้องการเป็นใหญ่แต่ถูกกีดกันจากอำนาจ และองค์ชาย[[อี้เซฺวียน]] (奕譞) พระอนุชาพระองค์ที่เจ็ดของจักรพรรดิเสียนเฟิง ในเวลานั้น มีฎีกาฉบับหนึ่งมาจาก[[ชานตง]] (山东) เสนอให้พระนางออก "ว่าราชการหลังม่าน" (垂簾聽政) และให้องค์ชายอี้ซินเข้าสู่วงการเมืองในฐานะผู้ช่วยเหลือองค์จักรพรรดิ
 
เมื่อขบวนพระศพออกเดินทางจากเร่อเหอ พระนางฉือสี่ซูสีและจักรพรรดิพระองค์ใหม่ต้องเดินทางกลับไปก่อนเพื่อไปเตรียมรับพระศพ ส่วนคณะองคมนตรีต้องตามอารักขาขบวนพระศพไป การที่ได้กลับปักกิ่งก่อน หมายความว่า พระนางมีเวลาเตรียมจัดการกับคณะองคมนตรีมากขึ้น เมื่อขบวนพระศพเข้าถึงเป่ย์จิง ก็มีประกาศให้ถอดคณะองคมนตรีออกจากตำแหน่งด้วยข้อหาว่า เจรจากับต่างชาติไม่สำเร็จ ทำให้จักรพรรดิเสียนเฟิงต้องจำพระทัยลี้ภัยจากปักกิ่งไปยังเร่อเหอ นอกเหนือไปจากข้อกล่าวหาอื่น ๆ<ref name="Edward Behr 1987, p. 45"/>
 
พระนางฉือสี่ซูสีให้นำองคมนตรีสามคนจากทั้งหมดแปดคนไปประหารชีวิต คือ ซู่ชุ่น, ไจ่-ยฺเหวียน, และตฺวันหฺวา องค์ชายอี้ซินเสนอให้ประหารด้วยวิธี[[หลิงฉือ]] (凌遲) คือ เชือดเป็นพัน ๆ ชิ้น แต่พระนางให้ตัดศีรษะซู่ชุ่น ส่วนไจ่-ยฺเหวียน กับตฺวันหฺวา ให้มอบผ้าขาวไปผูกคอตาย นอกจากนี้ พระนางยังห้ามประหารวงศ์ตระกูลขององคมนตรีทั้งสามตามประเพณี
 
การยึดอำนาจครั้งนี้เป็นที่รู้จักด้วยชื่อ "[[รัฐประหารซินโหย่ว]]" (辛酉政變) เพราะเกิดขึ้นใน ค.ศ. 1861 ซึ่งปฏิทินจีนเรียกว่า ปีซินโหย่ว
บรรทัด 155:
===ศักราชใหม่===
 
ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1861 ไม่กี่วันหลังรัฐประหารซินโหย่ว พระนางฉือสี่ซูสีประทานบำเหน็จให้แก่องค์ชายอี้ซิน โดยตั้งเขาเป็นขุนนางผู้ใหญ่ และให้ธิดาคนโตของเขาเป็น[[องค์หญิงกู้หลุน]] (固倫公主) ซึ่งปรกติแล้วจะตั้งจากพระธิดาองค์โตของจักรพรรดิ แต่พระนางก็มิได้ให้องค์ชายอี้ซินมีอำนาจเบ็ดเสร็จทางการเมือง
 
ในการว่าราชการหลังม่านนั้น พระนางฉือสี่ซูสีจะประทับร่วมกับพระนางฉือซูอันอยู่หลังม่าน โดยมีจักรพรรดิประทับอยู่หน้าม่าน แต่พระนางทั้งสองจะตัดสินใจแทนจักรพรรดิ พระนางฉือสี่ซูสีออกพระราชโองการสองฉบับในพระนามาภิไธย ฉบับแรกว่า ให้พระนางทั้งสองมีอำนาจตัดสินใจสูงสุด ห้ามผู้ใดก้าวก่าย ฉบับที่สองว่า ให้เปลี่ยนรัชศกของจักรพรรดิ จาก "ฉีเสียง" (祺祥) เป็น "ถงจื้อ" (同治)
 
แม้จะมีอำนาจตัดสินใจเด็ดขาด แต่พระนางฉือสี่ซูสีและพระนางฉือซูอันจำต้องอาศัยความเห็นของสภา[[จฺวินจฺวีชู่]] (軍機處) และต้องปฏิบัติตามขั้นตอนมากมาย เช่น เมื่อมีฎีกาเข้ามา ฎีกาจะส่งให้พระนางทั้งสองอ่านก่อน และจะส่งต่อไปยังองค์ชายอี้ซินและจฺวินจฺวีชู่ให้ทำความเห็น เมื่อได้ความเห็นแล้วจะทูลให้พระนางทั้งสองทราบเพื่อมีคำวินิจฉัย จากนั้น จะร่างพระราชโองการตามนั้น เมื่อพระนางทั้งสองเห็นชอบกับพระราชโองการแล้ว จึงประกาศใช้ได้ หน้าที่สำคัญสุดของพระนางทั้งสองในการสำเร็จราชการแทนจักรพรรดินั้น คือ การประทับพระราชลัญจกรลงพระราชโองการ ซึ่งที่จริงแล้วเป็นแต่ขั้นตอนทางพิธีการในระบบราชการอันซับซ้อน{{sfnb|Kwong|1984| pp = 21-22}}
 
===การปรับปรุงระบบขุนนาง===
 
พระนางฉือสี่ซูสีเข้าสู่อำนาจในยามที่บ้านเมืองวุ่นวายจากภายใน ขุนนางทั้งส่วนกลางและท้องถิ่นเน่าเฟะเพราะฉ้อราษฎร์บังหลวง ผลของ[[สงครามฝิ่นครั้งที่สอง]]ยังกระทบอยู่ไม่คลาย ส่วน[[กบฏเมืองแมนแดนสันติ]] (太平天国) ก็ลุกลามอยู่ทางใต้ กลืนกินแผ่นดินทีละนิดทีละน้อย ทั้งความท้าทายจากต่างชาติยังเข้ามาผสมโรงให้สถานการณ์ย่ำแย่ ใน ค.ศ. 1861 นั้น พระนางฉือสี่ซูสีประชุมขุนนางผู้ใหญ่แล้วรับสั่งให้เอาขุนนางสำคัญสองคนไปประหารเป็นการเชือดไก่ให้ลิงดู คือ Qingying จากฝ่ายทหารที่พยายามติดสินบนเพื่อให้พ้นจากการถูกลดขั้น และ[[เหอ กุ้ยชิง]] (何桂清) ผู้เป็น[[เหลี่ยงเจียงจ่งตู]] (兩江總督; "ผู้ว่าสองเจียง") ซึ่งเมื่อเกิดกบฏเมืองแมนฯ แล้ว กลับหนีเอาตัวรอดไปยัง[[ฉางโจว]] (常州) แทนที่จะอยู่ปกป้องเมือง
 
นอกจากนี้ พระนางฉือสี่ซูสียังมอบตำแหน่งสำคัญที่สุดทางทหารให้แก่ขุนนางชาวฮั่น คือ [[เจิง กั๋วฟาน]] (曾國藩) เพื่อทำทัพไปปราบกบฏเมืองแมนฯ ซึ่งขัดกับประเพณีแต่เดิมที่ตำแหน่งสำคัญจะให้แก่ชาวแมนจูเท่านั้น ภายในสามปีถัดมา พระนางยังแต่งตั้งขุนนางชาวฮั่นหลายคนไปปกครองทางใต้ เจิง กั๋วฟาน นำกองทัพที่เรียกว่า "[[เซียงจฺวิน]]" (湘軍) ไปปราบกบฏเมืองแมนฯ สำเร็จในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1864 และได้รับบรรดาศักดิ์เป็น[[อีเติ่งอี้หย่งโหฺว]] (一等毅勇侯; "อี้หย่งโหฺวขั้นหนึ่ง") ส่วนขุนนางชาวฮั่นคนอื่น ๆ ที่ร่วมปราบกบฏก็ปูนบำเหน็จทั่วหน้า เมื่อสิ้นกบฏเมืองแมนฯ แล้ว พระนางฉือสี่ซูสีก็เพ่งความสนใจไปที่องค์ชาย[[อี้ซิน]]แทน องค์ชายอี้ซินได้สร้างเครือข่ายผู้สนับสนุนอยู่ในราชสำนัก ซึ่งมีขุนนางสำคัญมากมายในกองทัพรวมอยู่ด้วย นอกจากนี้ องค์ชายอี้ซินยังเป็นประธาน[[จฺวินจีชู่]] ซึ่งควบคุมนโยบายเกี่ยวกับกิจการในประเทศ และ[[จ๋งหลี่หยาเหมิน]] (總理衙門) ซึ่งควบคุมนโยบายเกี่ยวกับการต่างประเทศ ทำให้องค์ชายสามารถควบคุมราชการรายวัน และมีอำนาจมากขึ้นทุกวัน พระนางฉือสี่ซูสีจึงเห็นว่า องค์ชายผู้นี้เป็นอีกภัยคุกคามต่ออำนาจของพระนาง
 
พระนางฉือสี่ซูสีสบโอกาสเมื่อ Cai Shouqi ขุนนางอาลักษณ์ชั้นผู้น้อย ถวายฎีกากล่าวหาว่า องค์ชายอี้ซินฉ้อฉลและไม่เคารพพระมหากษัตริย์ องค์ชายอี้ซินไม่สนใจข้อกล่าวหานัก เพราะเห็นว่า มีผู้สนับสนุนมากมายในราชสำนัก แต่ผิดคาด เพราะในเดือนเมษายน ค.ศ. 1865 พระนางฉือสี่ซูสีให้ถอดองค์ชายอี้ซินออกจากตำแหน่งราชการทั้งปวง แต่ยังให้ดำรงสถานะในราชวงศ์ต่อไปได้ ด้วยข้อกล่าวหาหลายประการ เช่น ประพฤติในเหมาะสมต่อหน้าพระนางฉือสี่ซูสีและพระนางฉืออันซูอัน<ref>[https://web.archive.org/web/20010408200053/http://www.yifan.net/yihe/novels/history/qsgskym/qsg221.html 清史稿:恭忠親王奕訢,宣宗第六子]</ref> การถอดองค์ชายอี้ซินทำให้ราชสำนักแตกตื่น มีผู้ถวายฎีกาหลายฉบับถวายเข้ามาให้คืนตำแหน่ง ในจำนวนนี้รวมถึง[[อี้เซฺวียน]] และ[[อี้ฉง]] (奕誴) น้องชายขององค์ชายอี้ซิน ส่วนอี้ซินเองก็ร่ำไห้ต่อหน้าพระนางทั้งสอง<ref>清史稿:恭忠親王奕訢傳記載:"王入謝,痛哭引咎"。</ref> เมื่อแรงกดดันหนักขึ้น พระนางฉือสี่ซูสีก็ยอมให้องค์ชายอี้ซินกลับมาเป็นประธานจงหลี่หยาเมินได้ แต่นับจากนั้นองค์ชายอี้ซินก็ไม่ได้มีบทบาทสำคัญในราชสำนักอีกต่อไป
 
=== อิทธิพลจากต่างชาติ ===
บรรทัด 175:
[[ไฟล์: Zuo Zongtang.jpg|thumb|170px|left|จั่วจงถัง <small>(10 พฤศจิกายน 1792—5 กันยายน 1855)</small>, วาดในปี 1895]]
 
พระนางฉือสี่ซูสีเถลิงอำนาจในยามที่ยุทธนาการของจีนล้วนพ้นสมัย และที่สำคัญ จีนไม่คบค้าสมาคมกับมหาอำนาจทางตะวันตก เป็นเหตุให้ขาดการติดต่อแลกเปลี่ยนวิทยาการอันจะเป็นประโยชน์แก่ประเทศ กับทั้งโดยที่ทรงเล็งเห็นว่า ไม่มีทางที่เศรษฐกิจอันมีการกสิกรรมเป็นหลักของจีนจะไปสู้เศรษฐกิจอันมีอุตสาหกรรมเป็นหลักของชาติตะวันตกได้ พระนางฉือสี่ซูสีจึงทรงตัดสินพระราชหฤทัยให้ริเริ่มเรียนรู้และรับเอาวิทยาการตะวันตก นโยบายในการบริหารประเทศเช่นนี้มีขึ้นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของรัฐราชาธิปไตยจีน{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} โดยได้มีพระราชเสาวนีย์ให้ข้าราชการชาวฮั่นคนสำคัญอันได้แก่ เจิงกั๋วฝัน, '''หลี่ หงจาง ''' ({{zh-all|c=李鴻章|p= Lǐ Hóngzhāng}}) และ '''จั่วจงถัง''' ({{zh-all|c=左宗棠|p= Zuǒ Zōngtáng}}) ไปร่างและควบคุมโครงการด้านอุตสาหกรรมในภาคใต้ของประเทศ
 
เพื่อสนับสนุนโครงการดังกล่าว ในปี 1863 ผู้สำเร็จราชการแทนพระองคฺ์ทั้งสองจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติจัดตั้ง'''วิทยาลัยถงเหวินกว่าน''' ({{zh-all|c=同文館|p=Tóng Wén Guǎn; "วิทยาลัยสหวิทยาการ"}}) ขึ้นใน[[ปักกิ่ง|กรุงปักกิ่ง]] เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ภาษาตะวันตก และต่อมาได้ขยายครอบคลุมถึงการเรียนรู้วิทยาการและนวัตกรรมต่างประเทศด้วย<ref>Biggerstaff, Knight. '''The earliest modern government schools in China,''' Ithaca: Cornell University Press, 1961.</ref>
บรรทัด 183:
อนึ่ง ในครั้งนั้นยังได้มีการจัดส่งชายหนุ่มจำนวนหนึ่งไปศึกษาเล่าเรียนในต่างประเทศอีกด้วย
 
อย่างไรก็ดี นโยบายของรัฐบาลจีนดังกล่าวดำเนินไปได้ไม่ราบรื่นนัก เนื่องจากด้านการทหารนั้นมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิรูปใหม่ทั้งระบบ แต่พระนางฉือสี่ซูสีกลับทรงแก้ไขปัญหาด้วยการซื้อเรือรบเจ็ดลำจาก[[สหราชอาณาจักร]] อันเรือรบนั้นเมื่อมาเทียบท่าจีนก็ได้บรรทุกกะลาสีชาว[[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]]ซึ่งอยู่ในบังคับของอังกฤษมาด้วยเต็มลำ ชาวจีนเห็นว่าการที่สหราชอาณาจักรทำดังกล่าวเป็นการยั่วโมโห เพราะเรือเป็นของจีนซึ่งถือตนว่าเป็นศูนย์กลางของโลก มีฐานะและเกียรติยศสูงส่ง แต่กลับเอาต่างชาติซึ่งจีนเห็นว่าเป็นอนารยชนทุกชาติไปนั้นมาใส่ จีนจึงให้สหราชอาณาจักรเอาเรือกลับคืนไปทุกลำ เรือนั้นเมื่อกลับไปแล้วก็นำไปประมูลต่อไป และการกระทำของรัฐบาลจีนครั้งนี้ก็เป็นที่ขบขันของชาติตะวันตกอยู่ระยะหนึ่ง{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
ส่วนด้านวิชาการนั้นก็ประสบอุปสรรค เนื่องจากพระราชอัธยาศัยและวิธีการคิดเก่า ๆ แบบ[[อนุรักษนิยม]]ของพระนางฉือสี่ซูสีที่ทรงพระกังวลเกี่ยวกับพระราชอำนาจของพระองค์ว่าจะถูกลิดรอนไป{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
ในการก่อสร้างทางรถไฟหลวงนั้น พระนางฉือสี่ซูสีไม่พระราชทานพระราชานุมัติ โดยทรงอ้างว่าเสียงอันดังของรถไฟอาจไปรบกวนบรรดาบูรพกษัตริย์ที่บรรทมอยู่ในสุสานหลวง กระทั่งปี 1877 ได้ทรงเห็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีรถไฟในจักรวรรดิตามคำกราบบังคมทูลของหลี่ หงจาง จึงพระราชทานพระราชานุมัติให้จัดสร้างได้ แต่ต้องเป็นรถไฟแบบม้าลาก<ref> Professor Sui Lijuang: Lecture Room Series on Cixi, Episode 9</ref>
 
พระนางฉือสี่ซูสียังทรงหวั่นเกรงแนวคิด[[เสรีนิยม]]ของผู้ที่ไปเล่าเรียนต่างประเทศกลับมา เนื่องจากทรงเห็นว่าแนวคิดดังกล่าวเป็นภัยรูปแบบใหม่ที่จะคุกคามพระราชอำนาจของพระองค์ ดังนั้น ในปี 1881 จึงมีพระราชเสาวนีย์ให้เลิกจัดส่งเด็กหนุ่มไปเล่าเรียนยังต่างประเทศ และพระราชอัธยาศัยเปิดกว้างที่ทรงมีต่อต่างชาติก็ค่อย ๆ ตีบแคบลงนับแต่นั้น{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
=== การบรรลุนิติภาวะของพระเจ้าถงจื้อ ===