ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปุราณะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Vikantana (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมเนื้อหาให้มากขึ้น
ป้ายระบุ: เพิ่มรายการยาว เพิ่มยูอาร์แอล wikipedia.org การแก้ไขแบบเห็นภาพ
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 3:
'''ปุราณะ''' ({{lang-sa|पुराण}}, purāṇa, เก่าแก่, โบราณ) และหมายความถึงวรรณคดีอินเดียที่ครอบคลุมเนื้อหาจำนวนมาก โดยเฉพาะตำนานต่างๆและตำนานพื้นถิ่นอื่นๆ คัมภีร์ปุราณะในแต่ละเรื่องนั้นว่ามีความซับซ้อนเชิงสัญลักษณ์ในหลากหลาย คัมภีร์ปุราณะเขียนด้วยภาษาสันสกฤตเป็นส่วนใหญ่ ตามมาด้วยภาษทมิฬ และภาษาท้องถิ่นอินเดียอื่นๆ ซึ่งบทประพันธ์เหล่านี้มักจะได้รับการตั้งชื่อตามเทพเจ้าในศาสนาฮินดูที่สำคัญๆ เช่น วิษณุ ศิวะ พรหมา และศักติ วรรณกรรมประเภทปุรณะนั้นไม่ได้มีเพียงเฉพาะที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาฮินดูเท่านั้น หากแต่ปรากฏมีในศาสนาเชน เช่นเดียวกัน
 
ในอีกมุมหนึ่ง คัมภีร์ปุราณะก็เปรียบเสมือนสารานุกรม เนื่องจากได้รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆไว้  อาทิ ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล จักรวาลวิทยา วงศาวิทยาของเทพเจ้าต่าง รวมทั้งกษัตริย์และวีรบุรุษต่างๆ ฤาษีฤๅษีและมหาฤาษีฤๅษี สัตว์ในเทวตำนาน นิทานปรัมปรา การจาริกแสวงบุญ วิหารต่างๆ การแพทย์ ดาราศาสตร์ ไวยากรณ์ แร่วิทยา เทววิทยา และปรัชญา ซึ่งเนื้อหาในคัมภีร์ปุราณะไม่ได้เรียบเรียงอย่างเป็นหมวดหมู่ หากแต่รวบรวมหลากหลายเรื่องราวเข้าไว้ในคัมภีร์ปุราณะหนึ่งๆ สำหรับหลักฐานของผู้ประพันธ์คัมภีร์ปุราณะนั้นไม่สามารถระบุได้อย่างชัดเจน    เพราะสันนิษฐานว่าเกิดจากการประพันธ์ของผู้แต่งหลายๆคนในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านมา  ในขณะที่คัมภีร์ปุราณะในศาสนาเชนนั้นสามารถระบุช่วงเวลาของการประพันธ์และทราบผู้ประพันธ์
 
 
บรรทัด 48:
|สามารถเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่า อธิ ปุราณะ เนื่องจากมีปุราณะจำนวนหลายฉบับระบุว่าเป็นปุราณะฉบับแรก ประกอบด้วย 245 บท อีกทั้งยังสามารถเจอโศลกที่อยู่ในพฺรหฺม ปุราณะ ในปุราณะฉบับอื่นๆ เช่น วิษฺณุ ปุราณะ, วายุ ปุราณะ, มารกณฺเฑยะ ปุราณะ และ มหาภรตะ
 
เนื้อหาที่ปรากฎปรากฏในพฺรหฺม ปุราณะ ได้แก่  เทพปกรณัม, พิชัยสงคราม, งานศิลปะที่พบในวิหารต่างๆ, วัฒนธรรมทั่วไป, สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ในแคว้นโอดิสสา, การถอผ้าโดยนำแนวความคิดมาจากพระวิษณุและพระศิวะ แต่ไม่ค่อยปรากฎปรากฏการเอ่ยถึงพระพรหมในปุราณะนี้
|-
|4
บรรทัด 65:
|ครุฑะ ปุราณะ
|19,000
|รวบรวมเนื้อหาเชิงสารานุกรมที่มีหัวข้อหลากหลาย แต่ข้อมูลหลักได้แก่ พระวิษณุและเทพเจ้าทั้งหลาย รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างพระศิวะ พระวิษณุ และพระพรหม และบทสนทนาระหว่างครุฑกับพระวิษณุที่ปรากฎปรากฏอยู่ในหลายบท
 
นอกจากนั้นยังประกอบด้วยเนื้อหาด้านจักรวาลวิทยา และความสัมพันธ์ระหว่างจักรวาลและเทพเจ้า, จริยศาสตร์, ปรัชญาฮินดูสำนักต่างๆ, ทฤษฎีโยคะ, ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างสวรรค์และนรก, กรรมและการกำเนิดใหม่, การถกเถียงทางปรัชญาในประเด็นความรู้แบบIntuition Knowledgeอันเป็นวิถีแห่งการบรรลุโมกษะ, รวมถึงภูมิศาสตร์และแม่น้ำต่างๆในดินแดนภรต และประเทศต่างๆ, ประเภทของหินและอัญมณี, การตรวจสอบอัญมณี, โรคภัยต่างๆและอาการ, สมุนไพรต่างๆ, ยากระตุ้นอารมณ์ททางเพศ, การป้องกันโรคต่างๆ, ปฏิทินตามคติฮินดู และพื้นฐานด้านดาราศาสตร์, สถาปัตยกรรม, พิธีกรรม, คุณธรรมต่างๆ, เศรษฐศาสตร์, รัฐศาสตร์, วรรณคดี, ไวยากรณ์ เป็นต้น
บรรทัด 79:
|ลิงฺค ปุราณะ
|11,000
|เนื้อหาประกอบด้วยข้อถกเถียงต่างๆเกี่ยวกับลิงค์ลิงก์ อันเป็นสัญลักษณ์ของพระศิวะ และการกำเนิดจักรวาล ตามมุมมองของไศวนิกาย อีกทั้งยังรวบรวมเรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับลิงค์ลิงก์ อาทิ อัคนีลิงค์ลิงก์
|-
|9
|มารกณฺเฑยะ ปุราณะ
|9,000
|บรรยายลักษณะของเทือกเขาวินธัยและดินแดนทางภาคตะวันตกของอินเดีย สันนิษฐานว่าเขียนขึ้นในหุบเขานารมทาและแม่น้ำตาปที ในแคว้นมหาราษฏร์และคุชราต เชื่อว่าประพันธ์โดยฤาษีฤๅษีมารกณฺเฑยะ ศิษย์ของพระพรหม ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับธรรมะ, มหาภรตะ, และเทวีมหาตมยา
|-
|10
บรรทัด 134:
|สันนิษฐานว่ามีอายุเก่าแก่ที่สุดในบรรดามหาปุราณะ มีอีกชื่อหนึ่งว่า วยวิยะ ปุราณะ เล่าเรื่องกล่าวถึงการถึงการศึกษาของอัล บิรูนี ชาวเปอร์เซียที่เดินทางเข้ามายังอินเดียในศตวรรษที่11 อีกทั้งการถกเถียงเกี่ยวกับพิธีกรรม ชีวิตครอบครัว และชีวิตในช่วงวัยต่างๆ
 
เนื้อหาในวายุ ปุราณะ บางส่วนจะปรากฎปรากฏในมารกณฺเฑยะ ปุราณะ มีการบรรยายลักษณะของอินเดียใต้ โดยเฉพาะ เตลันกานา และ อันตรประเทศ และข้อมูลวงศาวิทยาของกษัตริย์ที่ยังเป็นข้อถกเถียง
|-
|18
บรรทัด 218:
แต่อย่างไรก็ตาม ในคัมภีร์ปุราณะบางฉบับ เช่น ภควตะ ปุราณะ ได้เพิ่มลักษณะของคัมภีร์ปุราณะอีก 5 ประการ ได้แก่
 
1.         อุทยะ                ผลของกรรมที่เกี่ยวเนื่องกันระหว่างเทพ ฤาษีฤๅษี กษัตริย์ และสรรพสิ่งต่างๆ
 
2.         อิศนุกถา           นิทานต่างๆเกี่ยวกับเทพ
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปุราณะ"