ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุการณ์ 6 ตุลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 194:
หน่วยตำรวจที่ปฏิบัติการในวันที่ 6 ตุลาคมมีสามหน่วย ได้แก่ ตำรวจตระเวนชายแดน พลร่มจากค่ายนเรศวรฯ หัวหิน ภายใต้การบังคับบัญชาของพลตำรวจตรี กระจ่าง ผลเพิ่ม และพลตำรวจตรี เสน่ห์ สิทธิพันธ์, [[กองปราบปราม|ตำรวจกองปราบ]] ภายใต้บังคับบัญชาของพลตำรวจตรี วิเชียร แสงแก้ว, และกองปฏิบัติการพิเศษ[[กองบัญชาการตำรวจนครบาล (ไทย)|ตำรวจนครบาล]] ภายใต้การบังคับบัญชาของพลตำรวจตรีเสริม จารุรัตน์<ref name="ใจ"/>{{rp|169}} สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลประเมินว่ามีตำรวจอย่างน้อย 400 นาย<ref name="SJ" />{{rp|190–1}} เวลา 2.00 น. ของวันที่ 6 ตุลาคม พยานตำรวจว่า ตำรวจตระเวนชายแดนที่หัวหินได้รับคำสั่งที่ไม่มีคำอธิบายให้เคลื่อนเข้ากรุงเทพมหานคร แต่หม่อมราชวงศ์เสนีย์ยืนยันว่ารัฐบาลไม่ได้สั่ง<ref name=Thongchai-2002/>{{rp|249–50}} แต่ควรทราบว่าตำรวจตระเวนชายแดนมีความใกล้ชิดกับราชสำนัก<ref name=Thongchai-2002/>{{rp|250}}<ref name="SJ" />{{rp|194}} นายกรัฐมนตรีระบุว่ามาตรการกวาดล้างมีความจำเป็นเพราะมีการโจมตีสวนตำรวจขณะเข้าจับกุม<ref name="Puey"/>{{rp|9}} ต่อมาตำรวจแสดงหลักฐานคำสั่งจับกุมของนายกรัฐมนตรีลงเวลา 7.30 น. วันที่ 6 ตุลาคม ซึ่งเป็นเวลาหลังผู้ต้องหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพเข้ามอบตัวแล้วตั้งแต่ 7.00 น.<ref name="Puey"/>{{rp|9}} คำสั่งของพลตำรวจเอก พลตำรวจเอก [[ศรีสุข มหินทรเทพ]] อธิบดีกรมตำรวจ ไม่น่าจะใช่ผู้สั่งการแท้จริง หรือก็คงเป็นคำสั่งตรายางเท่านั้น<ref name="SJ" />{{rp|196}}
 
คณะกรรมการรับข้อมูลและสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 สรุปว่า ตำรวจก่ออาชญากรรมทางการเมือง ปราบปรามนึกศึกษานักศึกษาโดยใช้อาวุธสงคราม และปล่อยให้มีผู้บริสุทธิ์ถูกฆ่าบริเวณท้องสนามหลวง<ref name="ใจ"/>{{rp|15}} คณะกรรมการฯ พิจารณาเหตุผลที่ฝ่ายรัฐอ้างในการปราบปราม พบว่าทั้งหมดนั้นขาดน้ำหนักและเหตุผลโดยสิ้นเชิง<ref name="ใจ"/>{{rp|16}} โดยสรุปคือ
 
{| class="wikitable"