ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยามพารากอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
|เวลาทำการ=10:00–22:00 น.
}}
[[File:Siam Paragon Main Void 201105.jpg|right|thumb|โถงหลัก]]
'''สยามพารากอน''' (Siam Paragon) เป็นโครงการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบผสมบริเวณ[[ถนนพระรามที่ 1]] ในพื้นที่แขวงปทุมวัน [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] บริหารงานโดย [[สยามพิวรรธน์|บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด]] ร่วมกับ[[กลุ่มเดอะมอลล์]] ในนาม บริษัท สยามพารากอน ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด และ บริษัท สยามพารากอน รีเทล จำกัด โครงการประกอบด้วย[[ศูนย์การค้า]] โรงแรม และอาคารชุดเพื่อการพักอาศัย โดยในส่วนของอาคารศูนย์การค้านั้น เป็นหนึ่งในศูนย์การค้ากลุ่มวันสยาม มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทย รองจาก[[เซ็นทรัลเวิลด์]] [[ไอคอนสยาม]] และ[[เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต]] เน้นความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าที่มีกำลังซื้อสูง, กลุ่มนักท่องเที่ยว, กลุ่มลูกค้าต่างชาติ และกลุ่มลูกค้าระดับกลางถึงบนในศูนย์การค้าเดียว อีกทั้งยังเป็นศูนย์การค้าคู่แข่งกับเซ็นทรัลเวิลด์โดยตรง เนื่องจากอยู่บริเวณใกล้ๆ กัน โดยมี[[วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร]]คั่นกลาง
 
[[ไฟล์:Siam Paragon.jpg|200px|thumb|ด้านหน้าสยามพารากอน]]
[[ไฟล์:490129-7156.jpg|right|200px|thumb|สยามพารากอนเวลากลางคืน]]
[[ไฟล์:490129-7157.jpg|right|200px|thumb|ด้านข้างสยามพารากอนเวลากลางคืน]]
 
'''สยามพารากอน''' (Siam Paragon) เป็นโครงการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบผสมบริเวณ[[ถนนพระรามที่ 1]] ในพื้นที่แขวงปทุมวัน [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] บริหารงานโดย [[สยามพิวรรธน์|บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด]] ร่วมกับ[[กลุ่มเดอะมอลล์]] ในนาม บริษัท สยามพารากอน ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด และ บริษัท สยามพารากอน รีเทล จำกัด โครงการประกอบด้วย[[ศูนย์การค้า]] โรงแรม และอาคารชุดเพื่อการพักอาศัย โดยในส่วนของอาคารศูนย์การค้านั้น เป็นหนึ่งในศูนย์การค้ากลุ่มวันสยาม มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทย รองจาก[[เซ็นทรัลเวิลด์]] [[ไอคอนสยาม]] และ[[เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต]] เน้นความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าที่มีกำลังซื้อสูง, กลุ่มนักท่องเที่ยว, กลุ่มลูกค้าต่างชาติ และกลุ่มลูกค้าระดับกลางถึงบนในศูนย์การค้าเดียว อีกทั้งยังเป็นศูนย์การค้าคู่แข่งกับเซ็นทรัลเวิลด์โดยตรง เนื่องจากอยู่บริเวณใกล้ๆ กัน โดยมี[[วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร]]คั่นกลาง
 
สยามพารากอนมีลูกค้าชาวไทยประมาณ 60% และชาวต่างชาติ 40%<ref>[https://www.posttoday.com/pr/332228 “สยามพารากอน” ประกาศความยิ่งใหญ่ 9 ปี แห่งความสำเร็จกับการเป็นผู้นำสร้างประสบการณ์ระดับโลกที่แตกต่างและตรงใจ]</ref> เป็นสถานที่ที่มีผู้แชร์ภาพผ่าน[[อินสตาแกรม]]มากที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2556<ref>[https://www.thairath.co.th/content/540744 ฉลอง 10 ปี "พารากอน"]</ref> และจากข้อมูลในปี พ.ศ. 2560 มีผู้มาเยี่ยมเยือนศูนย์การค้าเฉลี่ย 80,000-200,000 คน/วัน<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/pr/detail/34516 สุดยิ่งใหญ่ 12 ปีสยามพารากอน]</ref> นักท่องเที่ยวต่างชาติที่มาเยือนอันดับ 1 คือ [[จีน]] รองลงมา คือ [[ญี่ปุ่น]], [[เกาหลีใต้]], [[อินเดีย]] และ[[มาเลเซีย]] เป็นต้น<ref>[http://www.thansettakij.com/content/129770 สยามพารากอนอัดโปรดูดเงินนักช็อปจีน]</ref>
 
บรรทัด 25:
 
== ประวัติ ==
[[File:Siam Paragon Entrance Void 2011.jpg|thumb|right|ช่วงทางเข้าหลัก]]
สยามพารากอนตั้งอยู่บน[[ถนนพระรามที่ 1]] สร้างบนที่ดินส่วนหนึ่งของ[[วังสระปทุม]] อันเป็นที่ดินพระราชมรดกของ[[ราชสกุลมหิดล]] ที่ได้รับพระราชทานจาก[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สำหรับสร้างวังพระราชทานแก่[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]] แต่เดิมที่ดินส่วนนี้เป็นสวนผลไม้ของ [[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]] ต่อมาบริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส จำกัด (เปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น [[สยามพิวรรธน์|บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด]] เมื่อวันที่ [[28 มกราคม]] [[พ.ศ. 2546]]) ได้ขอเช่าที่ดินดังกล่าวจากวังสระปทุมเพื่อก่อสร้าง[[โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล]] (เปลี่ยนชื่อเป็น [[โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพ]]) ซึ่งถือเป็นโรงแรมแห่งแรกของไทยที่บริหารด้วยเชนโรงแรมจากต่างประเทศ เมื่อโรงแรมดำเนินกิจการมาครบ 30 ปี ครบกำหนดสัญญาเช่าในปี พ.ศ. 2538 และได้รับการขยายอายุสัญญาต่อไปอีก 60 ปี จึงมีการปรับปรุงสัญญาใหม่โดยต่อสัญญาเช่าไปอีก 90 ปี จึงมีโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่บนพื้นที่เดิมของโรงแรม เพื่อให้เหมาะสมกับมูลค่าของที่ดินที่เพิ่มสูงขึ้น จึงได้รื้อโรงแรมและสิ่งปลูกสร้างลง เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การค้าแห่งใหม่บนพื้นที่ดังกล่าว คือ ศูนย์การค้าสยามพารากอน โดยเป็นการลงทุนร่วมกันระหว่างกลุ่มเดอะมอลล์และสยามพิวรรธน์<ref>[http://info.gotomanager.com/news/printnews.aspx?id=84354 ความสัมพันธ์ระหว่างเดอะมอลล์กับสยามพิวรรธน์]</ref> โดย[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดศูนย์การค้าเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2548
[[File:Siam Paragon GF The Canal 2011.jpg|thumb|right|The Canal ก่อนการปรับปรุงในปี พ.ศ. 2559]]
สยามพารากอนตั้งอยู่บน[[ถนนพระรามที่ 1]] สร้างบนที่ดินส่วนหนึ่งของ[[วังสระปทุม]] อันเป็นที่ดินพระราชมรดกของ[[ราชสกุลมหิดล]] ที่ได้รับพระราชทานจาก[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สำหรับสร้างวังพระราชทานแก่[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]] แต่เดิมที่ดินส่วนนี้เป็นสวนผลไม้ของ [[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]] ต่อมาบริษัท บางกอกอินเตอร์คอนติเนนตอล โฮเต็ลส จำกัด (เปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น [[สยามพิวรรธน์|บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด]] เมื่อวันที่ [[28 มกราคม]] [[พ.ศ. 2546]]) ได้ขอเช่าที่ดินดังกล่าวจากวังสระปทุมเพื่อก่อสร้าง[[:en:InterContinental|โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัล]] (เปลี่ยนชื่อเป็น [[:en:InterContinental|โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพ]]) ซึ่งถือเป็นโรงแรมแห่งแรกของไทยที่บริหารด้วยเชนโรงแรมจากต่างประเทศ เมื่อโรงแรมดำเนินกิจการมาครบ 30 ปี ครบกำหนดสัญญาเช่าในปี พ.ศ. 2538 และได้รับการขยายอายุสัญญาต่อไปอีก 60 ปี จึงมีการปรับปรุงสัญญาใหม่โดยต่อสัญญาเช่าไปอีก 90 ปี จึงมีโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่บนพื้นที่เดิมของโรงแรม เพื่อให้เหมาะสมกับมูลค่าของที่ดินที่เพิ่มสูงขึ้น จึงได้รื้อโรงแรมและสิ่งปลูกสร้างลง เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การค้าแห่งใหม่บนพื้นที่ดังกล่าว คือ ศูนย์การค้าสยามพารากอน โดยเป็นการลงทุนร่วมกันระหว่างกลุ่มเดอะมอลล์และสยามพิวรรธน์<ref>[http://info.gotomanager.com/news/printnews.aspx?id=84354 ความสัมพันธ์ระหว่างเดอะมอลล์กับสยามพิวรรธน์]</ref> โดย[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดศูนย์การค้าเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2548
 
สยามพารากอนเป็นอาคารสูง 8 ชั้น และชั้นใต้ดินอีก 2 ชั้น มีลิฟต์แก้วที่ใช้กระจกทั้งหมดเป็นแห่งแรกของประเทศไทย มีจำนวนลิฟต์ทั้งหมด 26 ตัว แบ่งเป็นลิฟต์แก้วแบบใช้กระจกทั้งหมด 2 ตัว, ลิฟต์แก้วแบบธรรมดา 2 ตัว, ลิฟต์ธรรมดา 22 ตัว, บันไดเลื่อน 85 ตัว, ทางเลื่อน 4 ตัว พื้นที่ใช้สอยประมาณ 500,000 ตารางเมตร และใช้เงินลงทุนมากกว่า 15,000 ล้านบาท<ref>[https://positioningmag.com/8004 สยามพารากอน จุดพลุ “ถนนสายช้อปปิ้ง”]</ref>
เส้น 45 ⟶ 47:
 
=== บางกอก ซี ไลฟ์ โอเชียนเวิลด์ ===
[[File:Siam Ocean World 2011.JPG|thumb|right|บางกอก ซี ไลฟ์ โอเชียนเวิลด์; ชื่อเดิม: สยามโอเชียนเวิลด์]]
'''พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ ซี ไลฟ์ โอเชียน เวิลด์ กรุงเทพ''' หรือ '''[[บางกอก ซี ไลฟ์ โอเชียนเวิลด์]]''' ({{lang-en|Sea Life Bangkok Ocean World}}; ชื่อเดิม: สยามโอเชียนเวิลด์) เป็น[[พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ]]ในอาคารสยามพารากอน บริหารงานโดย เมอร์ลิน เอ็นเตอร์เทนเมนท์ กรุ๊ป