ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้าบีทีเอส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Oum13928 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ซีอาร์อาร์ซี ฉางชุน (EMU-B3): เพิ่มข้อมูลขบวนรถที่ออกให้บริการแล้ว
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Wasin147 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่เห็นด้วยในการใช้คำว่าอินสไปโร - แหล่งอ้างอิงที่ใช้ ไม่ได้ถูกนำมาจากผู้ผลิตโดยตรง เป็นการเขียนจากการคาดเดาของ Blogger หรือ สำนักข่าว ก่อนที่จะมีการเปิดตัวรถไฟฟ้า // และสำหรับในประเทศไทยที่มีการใช้ อินสไปโร เรียกรถไฟฟ้ารุ่น EMU-A2 นั่นอาจจะเพราะว่าในวิกิพีเดียสมัยนั้น มีการเปลี่ยนเป็นคำว่าอินสไปโรแล้ว และมีผู้เข้าใจผิด เรียกตามวิกิพีเดียจนเกิดความเข้าใจผิดในวงกว้าง // ใช้ "โบซันคายา"แทน ซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตรถรุ่นนี้ และมีแหล่งอ้างอิงที่ชัดเจนที่สุด + สเปคของรุ่นนี้ไม่ตรงกับ Inspiro Family ด้วย
บรรทัด 21:
| routes = 2
| ridership = 731,467 คน
| stock = ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร <br> [[ไฟล์:Siemens AG logo.svg|50x100px]][[ไฟล์:BTS EMU-A1 Tag.png|60x125px]] : 35 ขบวน <br> ซีเมนส์ อินสไปโรโบซันคายา <br> [[ไฟล์:Siemens AG logo.svg|50x100px]][[ไฟล์:BTS EMU-A2 Tag.png|60x125px]] : 22 ขบวน <br> ซีเอ็นอาร์ ฉางชุน <br> [[ไฟล์:BTS EMU-B1 Tag.png|60x125px]] : 12 ขบวน <br> ซีเอ็นอาร์ ฉางชุน <br> [[ไฟล์:BTS EMU-B2 Tag.png|60x125px]] : 5 ขบวน <br> ซีอาร์อาร์ซี ฉางชุน <br> [[ไฟล์:CRRClogo.svg|40x75px]][[ไฟล์:BTS EMU-B3 Tag.png|60x125px]] : 24 ขบวน
| began_operation = 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542
| owner = สำนักการจราจรและขนส่ง [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]
บรรทัด 325:
| image1 = Bts-siemens-inspiro-emu-a2.jpg
| width1 =
| caption1 = รถไฟฟ้าซีเมนส์ อินสไปโรโบซันคายา ขบวน 53 (EMU-A2) ณ โรงงานโบซันคาย่า ประเทศตุรกี
| image2 = Interior bts siemens inspiro emu-a2.jpg
| width2 =
| caption2 = ภายในรถไฟฟ้าซีเมนส์ อินสไปโรโบซันคายา ขบวน 53 (EMU-A2)
}}
 
=== ซีเมนส์ อินสไปโรโบซันคายา (EMU-A2) ===
{{บทความหลัก|ซีเมนส์ อินสไปโร }}<small>สถานะ : ให้บริการทั้งสายสีลม และสายสุขุมวิท ตั้งแต่ขบวนหมายเลข 53 ถึง 74 </small>
ในระบบรถไฟฟ้าบีทีเอสรุ่นใหม่ จะประกอบไปด้วย Mc-Car และ T-Car โดย Mc-Car เป็นตู้โดยสารที่มีทั้งระบบขับเคลื่อน และห้องคนขับ จะอยู่ด้านหัวและท้ายขบวน 2 ตู้ และ T-Car เป็นตู้โดยสารที่ไม่มีทั้งระบบขับเคลื่อนและห้องคนขับ จะอยู่กลางขบวน 2 ตู้ สามารถต่อพ่วงได้สูงสุด 6 ตู้ต่อ 1 ขบวน โดยจะจัดรูปแบบขบวนรถเป็น '''<nowiki>[ Mc ] - [ T ] - [ T ] - [ Mc ]</nowiki>''' มีความยาวอยู่ที่ 65.30 เมตรและมีความกว้าง 3.12 เมตร มีประตูเลื่อนกว้าง 1.40 เมตร จำนวน 32 บานต่อ 1 ขบวน ตัวถังของขบวนรถทำจากเหล็กปลอดสนิม ติดตั้งระบบปรับอากาศแบบอินเวอร์เตอร์พร้อมระบบกรองอากาศทั้งหมด 8 ยูนิต พร้อมหน้าต่างชนิดกันแสง และมีระบบแผนที่นำทางหรือ Dynamic Route Map ซึ่งทำงานพร้อมกับระบบอาณัติสัญญาณ ติดตั้งอยู่เหนือประตูทุกบาน มีกล้องวงจรปิดสำหรับบันทึกและสอดส่องผู้โดยสาร และประหยัดพลังงานกว่ารถไฟฟ้าซีเมนส์รุ่นเดิมที่ใช้งานอยู่ รถไฟฟ้าสามารถขับเคลื่อนได้โดยใช้แรงดันไฟฟ้า 750 Vdc โดยรับจากรางส่งที่ 3 มีความจุผู้โดยสารต่อ 1 ขบวน 1572 คน เมื่อมีผู้โดยสาร 8 คน/ตารางเมตร ภายนขบวนรถมีที่นั่ง 112 ที่ และที่สำหรับยืนพิง (Perch Seats) 14 ที่ (<ref>[https://assets.new.siemens.com/siemens/assets/api/uuid:42ce3d1392478ad1a93a9baeb6acdc239d4d12a3/version:1532948509/metro-bangkok-greenline-en.pdf เอกสารรถไฟฟ้าซีเมนส์ EMU-A2]</ref>
บรรทัด 515:
 
== การให้บริการ ==
[[ไฟล์:BTS EMU-B3 arriving at Ha Yaek Lat Phrao Station.jpg|thumb|รถไฟฟ้าซีเมนส์ อินสไปโรโบซันคายา EMU-A2 หมายเลข 56 กำลังเข้าสู่ชานชาลาสถานีห้าแยกลาดพร้าว]]
=== การให้บริการปกติ ===
รถไฟฟ้าบีทีเอสเปิดให้บริการเดินรถในแต่ละสถานีไม่เท่ากัน โดยเริ่มเดินรถขบวนแรกในเวลา 05.15 ในสายสุขุมวิท และในเวลา 05.30 ในสายสีลม แต่เปิดทำการห้องจำหน่ายบัตรโดยสารในเวลา 06.00 - 23.30 น. (ปิดรับชำระด้วยบัตรเครดิตเวลา 22.00 น.) โดยความถี่การเดินรถจะขึ้นอยู่กับเวลา และความหนาแน่นของผู้โดยสาร <ref>https://mgronline.com/onlinesection/detail/9620000115773 การเดินรถ และตารางการเดินรถ</ref> ผู้โดยสารจะต้องใช้บัตรโดยสารให้ถูกประเภท