ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การประท้วงเดือนตุลาคม: ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 295:
วันที่ 13 ตุลาคม ก่อนหน้าวันที่นัดหมายชุมนุมใหญ่ 1 วัน ผู้ประท้วงจำนวนหนึ่งชุมนุมกันที่ถนนราชดำเนินใกล้กับอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเพื่อประท้วงขบวนเสด็จฯ<ref>{{Cite web|last=|first=|date=|title=Early rally site cleared, protesters arrested|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2001467/early-rally-site-cleared-protesters-arrested|url-status=live|archive-url=|archive-date=|access-date=2020-10-13|website=Bangkok Post}}</ref> โดยระหว่างขบวนเสด็จฯ ผ่านผู้ประท้วงได้ชูสัญลักษณ์มือสามนิ้วซึ่งเป็นการแสดงออกไม่พอใจพระมหากษัตริย์ไทยอย่างเปิดเผย มีการสลายการชุมนุม และมีผู้ประท้วงถูกจับกุม 21 คน ต่อมาแฮชแท็กโจมตีพระมหากษัตริย์ติดอันดับทวิตเตอร์<ref>{{Cite news|last=Johnson|first=Panu Wongcha-um, Panarat Thepgumpanat, Kay|date=2020-10-13|title=Thai protesters clash with police, call out as king's motorcade passes|language=en|work=Reuters|url=https://www.reuters.com/article/us-thailand-protests-idUSKBN26Y1C7|access-date=2020-10-13}}</ref>
 
วันที่ 14 ตุลาคม ซึ่งเป็นวันนัดชุมนุมใหญ่ เริ่มมีการชุมนุมตั้งแต่เช้าภายใต้ชื่อ "[[คณะราษฎร]]" โดยประกาศจะเคลื่อนไปยังทำเนียบรัฐบาลเพื่อเรียกร้องให้ประยุทธ์ลาออก<ref>{{Cite web|last=|first=|date=|title=Protesters gathering at Democracy Monument|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2001971/protesters-gathering-at-democracy-monument|url-status=live|archive-url=|archive-date=|access-date=2020-10-14|website=Bangkok Post}}</ref> ปรากฏว่าทางการสั่งขนผู้ประท้วงตอบโต้โดยใช้พาหนะของราชการ<ref name=":11">{{Cite web|last=Ashworth|first=Caitlin|date=2020-10-14|title="Elevated risk of unrest" after 21 activist arrests, UN department says|url=https://thethaiger.com/hot-news/protests/elevated-risk-of-unrest-after-21-activist-arrests-un-department-says|access-date=2020-10-14|website=The Thaiger|language=en-TH}}</ref> ส่วนกลุ่มนิยมเจ้า เช่น ไทยภักดี และองค์กรเก็บขยะแผ่นดิน จัดการประท้วงตอบโต้<ref>{{Cite web|last=|first=|date=|title=Arrests heighten rally concerns|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2001555/arrests-heighten-rally-concerns|url-status=live|archive-url=|archive-date=|access-date=2020-10-14|website=Bangkok Post}}</ref> วันเดียวกัน เกิดเหตุทำร้ายร่างกายผู้ประท้วงโดยฝ่ายตรงข้าม มีการเคลื่อนขบวนไปยังทำเนีบยรัฐบาลแล้วตั้งเต้นท์และเวทีปราศรัยโดยรอบทั้ง 4 ทิศ ทั้งนี้การประท้วงดังกล่าวตรงกับการเสด็จพระราชดำเนินตามกำหนดการซึ่งผ่านบริเวณชุมนุมที่[[ถนนพิษณุโลก]] โดยไม่มีประกาศอย่างเป็นทางการล่วงหน้า และทั้งที่กำหนดการเดิมว่าจะใช้[[ถนนราชดำเนิน]]<ref name="blockenvoy"/> ไม่มีการขัดขวางขบวนเสด็จ แต่ประยุทธ์ออกแถลงการณ์ทางโทรทัศน์ว่าจะดำเนินคดีอย่างเข้มงวดกับผู้ที่ขัดขวางขบวนเสด็จฯ ตามอ้าง<ref name="blockenvoy">{{cite news |title=PM ORDERS PROSECUTION OF PROTESTERS WHO ‘BLOCKED ROYAL CONVOY’ |url=https://www.khaosodenglish.com/news/crimecourtscalamity/2020/10/15/pm-orders-prosecution-of-protesters-who-blocked-royal-convoy/ |accessdate=14 October 2020 |work=Khaosod English}}</ref> เช่นเดียวกับกลุ่มฝ่ายขวาและสื่อที่รีบออกมาโจมตีผู้ชุมนุม<ref>{{cite news |title=ม็อบ3นิ้วเหิมเกริมหนักล้อมขบวนเสด็จ-ยึดทำเนียบฯไล่นายกฯ |url=https://mgronline.com/daily/detail/9630000104991 |accessdate=15 October 2020 |work=Manager Online |date=15 October 2020 |language=th}}</ref><ref>{{cite news |title=เอาแล้ว! 'ลุงกำนัน' เหลืออดม็อบคุกคามขบวนเสด็จ ชวนพี่น้องร่วมอุดมการณ์ปกป้องสถาบัน |url=https://www.thaipost.net/main/detail/80559 |accessdate=15 October 2020 |work=Thai Post |language=th}}</ref> ด้านอานนท์ นำภากล่าวว่าราชการจงใจจัดขบวนเสด็จฯ ฝ่าบริเวณชุมนุม<ref>{{cite news |title=เกาะติด "คณะราษฎร" ชุมนุม 14 ตุลา "ราษฎรจะเดินนำ ที่ราชดำเนิน" - บีบีซีไทย |url=https://www.bbc.com/thai/live/thailand-54508182 |accessdate=14 October 2020 |work=BBC ไทย |language=th-TH}}</ref>
 
วันที่ 15 ตุลาคม เวลา 04:00 น. นายกรัฐมนตรีประกาศ[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]ที่มีความร้ายแรงตามมาตรา 5 และ 11 ใน[[พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548]] เฉพาะในเขตท้องที่[[กรุงเทพมหานคร]]<ref>{{Cite web|url=https://www.thairath.co.th/news/politic/1953045|title=ราชกิจจาฯ ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ร้ายแรงในเขตท้องที่กรุงเทพฯ|author=[[ไทยรัฐ]]|website=www.thairath.co.th|date=15 ตุลาคม 2563|accessdate=15 ตุลาคม 2563}}</ref> ส่งผลให้ผู้ชุมนุมต้องเปลี่ยนแผนโดยสลายการชุมนุมรอบทำเนียบรัฐบาล และย้ายไปจัดการชุมนุมที่[[แยกราชประสงค์]] โดยนัดหมายในเวลา 16:00 น. ส่งผลให้แฮชแท็ก #15ตุลาไปราชประสงค์ ติดเทรนด์ทวิตเตอร์อันดับ 1 ถึงแม้ว่าตำรวจจะมีการประกาศห้ามชักชวนไปร่วมชุมนุมเด็ดขาด เพราะถือเป็นความผิดข้อหาฝ่าฝืนประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง<ref>{{Cite web|url=https://www.thebangkokinsight.com/456044/|title=แฮชแท็ก #15ตุลาไปราชประสงค์ ขึ้นเทรนด์อันดับ 1 สวนทางคำขู่ตำรวจ|website=www.thebangkokinsight.com|author=The Bangkok Insight|date=15 ตุลาคม 2563|accessdate=15 ตุลาคม 2563}}</ref>
 
== การตอบสนอง ==