ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 38:
 
==== ปฏิกิริยาร่องความกดอากาศต่ำที่เป็นประโยชน์ ====
แรงเฉือนของลมเฉือนแนวตั้งที่อยู่ในระดับจำกัด อาจส่งผลดีต่อการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนได้ เมื่อ[[ร่อง (อุตุนิยมวิทยา)|ร่อง]]ความกดอากาศต่ำชั้นบนหรือหย่อมความกดอากาศชั้นบนที่มีขนาดใกล้เคียงกับหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง ซึ่งระบบจะสามารถถูกคัดท้าย (steered) โดยระบบที่อยู่ในชั้นบนให้เข้าสู่พื้นที่ที่มี[[การลู่ออก]]ขึ้นสู่ด้านบนที่ดีกว่าได้ ซึ่งสามารถทำให้เกิดการพัฒนาขึ้นของพายุต่อไป โดยลมหมุนชั้นบนที่มีกำลังอ่อนจะเป็นผลที่ดีในปฏิกิริยาที่เป็นประโยชน์นี้ ทั้งนี้มีหลักฐานว่าพายุหมุนเขตร้อนที่ถูกกระทำโดยลมเฉือนกำลังอ่อนในตอนแรก จะพัฒนาได้รวดเร็วกว่าพายุหมุนเขตร้อนที่ไม่ถูกพัดเฉือน แม้ว่าการนั้นจะนำมาซึ่งความรุนแรงสูงสุดโดยความเร็วลมสูงสุดที่อ่อนกว่า และ[[ความกดอากาศ|ความกดอากาศต่ำที่สุด]]ที่สูงกว่าก็ตาม<ref name="SHEARHELP">{{cite web | author1 = M. E. Nicholls | author2 = R. A. Pielke | lastauthoramp = yes | url = http://blue.atmos.colostate.edu/publications/pdf/PPR-175.pdf | title = A Numerical Investigation of the Effect of Vertical Wind Shear on Tropical Cyclone Intensification | work = 21st Conference on Hurricanes and Tropical Meteorology of the [[American Meteorological Society]] | publisher = [[Colorado State University]] | pages = 339–41 | date = April 1995 | accessdate = October 20, 2006 | url-status = dead | archiveurl = https://web.archive.org/web/20060909224836/http://blue.atmos.colostate.edu/publications/pdf/PPR-175.pdf | archivedate = September 9, 2006 | df = mdy-all }}</ref> กระบวนการเช่นนี้ยังเป็นที่รู้จักในชื่อ ''การบารอคลินิกอินิชิเอชัน'' (baroclinic initiation) ของพายุหมุนเขตร้อนอีกด้วย โดยเป็นการเคลื่อนอย่างช้า ๆ (trailing) ของลมหมุนชั้นบนและร่องความกดอากาศต่ำชั้นบน ซึ่งสามารถทำให้เกิดช่องกระแสอากาศไหลออกเพิ่มเติมได้ และช่วยให้เกิดกระบวนการการทวีกำลังแรงขึ้น การพัฒนาของหย่อมความกดอากาศต่ำนี้ สามารถช่วยสร้างหรือทำให้ร่องหรือหย่อมความกดอากาศต่ำชั้นบนลึกขึ้นได้ เนื่องจากกระแสอากาศไหลออกที่ออกมาจากการพัฒนาของตัวหย่อมความกดอากาศต่ำหรือพายุหมุนเขตร้อนเอง<ref name="CLARK">{{cite web| author = Clark Evans |url = http://flhurricane.com/cyclone/showflat.php?Cat=0&Number=64429&an=0&page=0 | title = Favorable trough interactions on tropical cyclones | publisher = Flhurricane.com | date = January 5, 2006 | accessdate =October 20, 2006}}</ref><ref name="AMSPAPER">{{Cite journal|author1=Deborah Hanley |author2=John Molinari |author3=Daniel Keyser |last-author-amp=yes | title = A Composite Study of the Interactions between Tropical Cyclones and Upper-Tropospheric Troughs |date=October 2001 | journal = [[Monthly Weather Review]] | volume = 129 | issue = 10 | pages = 2570–84 | doi = 10.1175/1520-0493(2001)129<2570:ACSOTI>2.0.CO;2| issn = 1520-0493 | bibcode=2001MWRv..129.2570H}}</ref>
 
มีหลายกรณีที่ร่องความกดอากาศต่ำละติจูดกลางขนาดใหญ่ สามารถช่วยในการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนได้ เมื่อกระแสลมกรดชั้นบนผ่านไปทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของการพัฒนาของระบบ ซึ่งจะช่วยให้เกิดการลู่ออกขึ้นสู่ด้านบน และการไหลเข้าที่พื้นผิวเพื่อหมุนพายุหมุนเขตร้อน ปฏิสัมพันธ์ประเภทนี้มักเกี่ยวข้องกับความกดอากาศต่ำที่มีอยู่แล้วในกระบวนการเลี้ยวกลับ (recurvature)<ref name="WISC">{{cite web | author1 = Eric Rappin | author2 = Michael C. Morgan | lastauthoramp = yes | url = http://aurora.aos.wisc.edu/~edrappin/mesoconf.pdf | title = The Tropical Cyclone&nbsp;— Jet Interaction | publisher = [[University of Wisconsin, Madison]] | accessdate = October 20, 2006 | url-status = dead | archiveurl = https://web.archive.org/web/20060907034854/http://aurora.aos.wisc.edu/~edrappin/mesoconf.pdf | archivedate = September 7, 2006 | df = mdy-all }}</ref>
 
== เวลาในการก่อตัว ==