ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ณัฐ ยนตรรักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
คุณณัฐ ไม่เคยสอน ป๋าเปรม
บรรทัด 31:
ณัฐ มีผลงานแสดงดนตรีคลาสสิก และประพันธ์เพลงคลาสสิกที่นำเสนอความเป็นไทยไว้หลายเพลง รวมทั้งเพลง "สยามโซนาต้า" ที่แต่งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 72 พรรษา เมื่อ พ.ศ. 2542 <ref>[http://www.mediathai.net/module/newsdesk/newsdesk_subcat.php?board_id=4401 รางวัลศิลปาธร พ.ศ. 2549]</ref> ได้รับการยกย่องเป็นนักเปียโนฝีมือเลิศ (Piano Virtuoso) เป็นนักเปียโนชาวไทยคนแรกที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็น Steinway Artist <ref>[http://www.ocac.go.th/index.php?page=project&op=showDetail&pj=47 “ถวายชัยคีตมหาราชา” ( Glory to Our Great Kings ) แสดงเดี่ยวเปียโน โดย ณัฐ ยนตรรักษ์]</ref> และได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นศิลปินร่วมสมัย [[รางวัลศิลปาธร]] สาขาคีตศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2549
 
ณัฐ ยนตรรักษ์ และภรรยา เป็น[[คริสเตียน]] <ref>[http://web.archive.org/web/20070622181945/http://www.canaancenter.com/Nat.htm กูเกิลแคช จาก http://www.canaancenter.com/Nat.htm ]</ref> ปัจจุบันเปิดโรงเรียนสอนเปียโน ชื่อ ณัฐ สตูดิโอ มีลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียง( เช่น [[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] อดีตนายกรัฐมนตรี อดีตประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ และเล่นดนตรีเพื่อการกุศลNat Studio )
 
ผลงานเปียโน[[โซนาตา]]ของณัฐ ชื่อ "Glory to Our Great Kings" ซึ่งแสดงเป็นครั้งแรกในคอนเสิร์ตเฉลิมฉลอง[[พระราชพิธีกาญจนาภิเษก]] ในปี พ.ศ. 2537 และได้รับการบรรเลงในงานประชุมสหประชาชาติที่[[นิวยอร์ก]]ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2538 <ref name="naxos"/><ref>[http://music.sanook.com/albumreview/albumreview_12955.php Glory To Our Great kings: album reviews]</ref>