ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แฟร์ดีนันท์ เซาเออร์บรุค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
เซาเออร์บรุคศึกษาแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฟีลิพแห่งมาร์บวร์ค, มหาวิทยาลัยไกรฟส์วัลด์, [[มหาวิทยาลัยเยนา]] และ[[มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช]] เมื่อจบการศึกษาจากไลพ์ซิชในปีค.ศ. 1902<ref name="ÄL">[[Udo Benzenhöfer]]: ''Ferdinand Sauerbruch.'' In: [[Wolfgang U. Eckart]] und [[Christoph Gradmann]] (Hrsg.): ''Ärztelexikon. Von der Antike bis zum 20. Jahrhundert.'' C. H. Beck, München 1955, S. 317; ''Ärztelexikon. Von der Antike bis zur Gegenwart.'' 2. Auflage. 2001, S. 276 f., 3. Auflage. 2006, jeweils Springer-Verlag, Heidelberg/Berlin/New York, S. 288. [[doi:10.1007/978-3-540-29585-3]].</ref> เขาก็ไปทำงานในเมือง[[วรอตซวาฟ|เบร็สเลา]]และประดิษฐ์[[ห้องสุญญากาศ|เครื่องสุญญากาศ]]ขึ้นเพื่อใช้การเปิดคอหอยระหว่างการผ่าตัด ซึ่งถือเป็นอุปกรณ์ที่ปฏิวัติแพทย์ศาสตร์ทรวงอก เครื่องสุญญากาศสามารถลดความเสี่ยงในผ่าตัดหัวใจและคอหอยได้อย่างมาก ต่อมาในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เซาเออร์บรุคได้คิดค้น[[กายอุปกรณ์|อวัยวะเทียม]]ขึ้นมากมายหลายแบบ
 
เซาเออร์บรุคทำงานที่[[มหาวิทยาลัยลูทวิช-มัคซีมีลีอานแห่งมิวนิก]]ระหว่างปีค.ศ. 1918 ถึง 1927 โดยศึกษาเทคนิคศัลยศาสตร์และอาหารไดเอทสำหรับผู้ป่วยวัณโรค ต่อมาเขาเข้าทำงานที่แผนกศัลยกรรมที่โรงพยาบาลชาร์ลี[[ชารีเท]]ในกรุงเบอร์ลินระหว่างตั้งแต่ปีค.ศ. 1928 และได้บรรจุเป็นแพทย์ทหารในปีค.ศ. 1942 เซาเออร์บรุคทำงานในโรงพยาบาลชาร์ลีจวบจนสิ้นสุดสงครามและยังคงทำงานที่นั่นต่อไป หลังจากนั้นก็เริ่มป่วยเป็นโรคสมองเสื่อมและเสียชีวิตในปีค.ศ. 1951
 
==อ้างอิง==