ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตรัฐธรรมนูญออสเตรเลีย ค.ศ. 1975"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kelos omos1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kelos omos1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''วิกฤตรัฐธรรมนูญออสเตรเลีย ค.ศ. 1975''' หรือเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปว่า "The Dismissal" (การปลดนายกรัฐมนตรี) ถือเป็นเหตุการณ์ทางการเมืองและวิกฤตรัฐธรรมนูญที่ยิ่งใหญ่ที่สุดใน[[ประวัติศาสตร์ออสเตรเลีย]] เหตุการณ์เริ่มขึ้นวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975 (พ.ศ. 2518) เมื่อ[[นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย|นายกรัฐมนตรี]] [[กอฟ วิทแลม]] รวมทั้ง[[คณะรัฐมนตรีออสเตรเลีย|คณะรัฐมนตรี]]จาก[[พรรคแรงงาน (ประเทศออสเตรเลีย)|พรรคแรงงานออสเตรเลีย]] (Australian Labor Party) ถูกปลดออกจากตำแหน่งโดย[[ผู้สำเร็จราชการเครือรัฐออสเตรเลีย|ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] เซอร์ [[จอห์น เคอร์]] ก่อนที่จะแต่งตั้ง[[ผู้นำฝ่ายค้านออสเตรเลีย|ผู้นำฝ่ายค้าน]] [[มัลคอล์ม เฟรเซอร์]] จาก[[พรรคเสรีนิยมแห่งออสเตรเลีย|พรรคเสรีนิยม]] (Liberal Party) ขึ้นดำรงตำแหน่ง[[รักษาการณ์]]นายกรัฐมนตรี
 
รัฐบาลพรรคแรงงานของวิทแลมได้รับการเลือกตั้งเข้ามาในปี 1972 โดยมีเสียงข้างมากใน[[สภาผู้แทนราษฎรออสเตรเลีย|สภาผู้แทนราษฎร]]มากกว่าพรรคฝ่ายค้านเพียง ในขณะที่ใน[[วุฒิสภาออสเตรเลีย|วุฒิสภา]] พรรคแรงงานประชาธิปไตย (Democratic Labor Party) ที่มักจะสนับสนุนฝ่ายค้านของ[[พันธมิตรระหว่างพรรคเสรีนิยมและ[[พรรคชาติออสเตรเลีย|พรรคเสรีนิยมและพรรคชนบท]] (Country Party) เป็นผู้กุมสมดุลอำนาจ การเลือกตั้งครั้งต่อมาในปี 1974 ไม่ได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากนัก ในขณะที่รัฐบาลของวิทแลมดำเนินนโยบายและโครงการใหม่เป็นจำนวนมาก แต่ข่าวอื้อฉาวและความผิดพลาดทางการเมืองส่งผลให้รัฐบาลขาดเสถียรภาพ ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1975 พรรคฝ่ายค้านใช้อำนาจที่ตนมีในวุฒิสภาเพื่อยับยั้ง[[ร่างกฎหมายจัดสรรงบประมาณ|ร่างพระราชบัญญัติจัดสรรงบประมาณ]]ที่ผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนฯ มาแล้ว พรรคฝ่ายค้านยืนยันที่จะยับยั้งการผ่านร่างกฎหมายต่อไปนอกเสียจากว่าวิทแลมจะประกาศให้มีการเลือกตั้งสภาผู้แทนฯ และเรียกร้องให้เคอร์ปลดวิทแลมออกหากวิทแลมไม่ยินยอม วิทแลมเชื่อว่าเคอร์จะไม่สั่งปลดอย่างแน่นอน ในขณะที่เคอร์เองก็ไม่เคยแจ้งให้วิทแลมทราบถึงเจตนาที่จะปลดมาก่อนเช่นกัน
 
ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1975 พรรคฝ่ายค้านใช้อำนาจที่ตนมีในวุฒิสภาเพื่อยับยั้ง[[ร่างกฎหมายจัดสรรงบประมาณ|ร่างพระราชบัญญัติจัดสรรงบประมาณ]]ที่ผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทนฯ มาแล้ว พรรคฝ่ายค้านยืนยันที่จะยับยั้งการผ่านร่างกฎหมายต่อไปนอกเสียจากว่าวิทแลมจะประกาศให้มีการเลือกตั้งสภาผู้แทนฯ และเรียกร้องให้เคอร์ปลดวิทแลมออกหากวิทแลมไม่ยินยอม วิทแลมเชื่อว่าเคอร์จะไม่สั่งปลดอย่างแน่นอน ในขณะที่เคอร์เองก็ไม่เคยแจ้งให้วิทแลมทราบถึงเจตนาที่จะปลดมาก่อนเช่นกัน
ในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975 วิทแลมตั้งใจที่จะประกาศให้มีการเลือกตั้งครึ่งสภาในวุฒิสภาเพื่อผ่าทางตัน เมื่อวิทแลมเข้าพบเคอร์เพื่อขอคำรับรองให้มีการเลือกตั้ง เคอร์ก็ได้ทำการปลดวิทแลมจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และหลักจากนั้นไม่นาน ได้แต่งตั้งให้เฟรเซอร์ดำรงตำแหน่งรักษาการณ์ฯ แทน เฟรเซอร์และพรรคจึงเร่งดำเนินการให้มีการลงคะแนนร่างพระราชบัญญัติจัดสรรงบประมาณในวุฒิสภาก่อนที่วุฒิสมาชิกจากพรรคแรงงานจะทราบข่าวการเปลี่ยนรัฐบาล ทำให้ร่างพระราชบัญญัติจัดสรรงบประมาณผ่านวุฒิสภา หลังจากนั้น เคอร์จึงประกาศยุบสองสภา ให้มีการเลือกตั้งทั้งในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาแบบเต็มสภา การเลือกตั้งในเดือนต่อมาส่งผลให้เฟรเซอร์และพรรคกลับมาเป็นรัฐบาลด้วยเสียงข้างมากอย่างถล่มทลาย
 
ในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975 วิทแลมตั้งใจที่จะประกาศให้มีการเลือกตั้งครึ่งสภาในวุฒิสภาเพื่อผ่าทางตัน เมื่อวิทแลมเข้าพบเคอร์เพื่อขอคำรับรองให้มีการเลือกตั้ง เคอร์ก็ได้ทำการปลดวิทแลมเคอร์ก็ปลดวิทแลมให้พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และหลักจากนั้นไม่นาน ได้แต่งตั้งให้เฟรเซอร์ดำรงตำแหน่งรักษาการณ์ฯ แทน เฟรเซอร์และพรรคจึงเร่งดำเนินการให้มีการลงคะแนนร่างพระราชบัญญัติจัดสรรงบประมาณในวุฒิสภาก่อนที่วุฒิสมาชิกจากพรรคแรงงานจะทราบข่าวการเปลี่ยนรัฐบาล ทำให้ร่างพระราชบัญญัติจัดสรรงบประมาณผ่านวุฒิสภา หลังจากนั้น เคอร์จึงประกาศยุบสองสภา ให้มีการเลือกตั้งทั้งในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาแบบเต็มสภา การเลือกตั้งในเดือนต่อมาส่งผลให้เฟรเซอร์และพรรคกลับมาเป็นรัฐบาลด้วยเสียงข้างมากอย่างถล่มทลาย
 
วิกฤตการณ์ดังกล่าวส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางรัฐธรรมนูญเพียงเล็กน้อย วุฒิสภาคงอำนาจในการยับยั้งการอนุมัติงบประมาณ ขณะที่ผู้สำเร็จราชการฯ คงอำนาจในการปลดรัฐมนตรี อย่างไรก็ตามอำนาจดังกล่าวไม่เคยถูกนำมาใช้อีกเลย เคอร์ถูกวิพากย์วิจารณ์อย่างหนักจากผู้สนับสนุนพรรคแรงงาน ส่งผลให้เคอร์ลาออกจากตำแหน่งผู้สำเร็จราชการฯ ก่อนเวลาอันควร และใช้ชีวิตที่เหลืออยู่นอกประเทศออสเตรเลีย
เส้น 10 ⟶ 12:
== ภูมิหลัง ==
=== ภูมิหลังทางรัฐธรรมนูญ ===
ตามที่บัญญัติไว้ใน[[รัฐธรรมนูญออสเตรเลีย]] [[รัฐสภาออสเตรเลีย]]ใช้[[ระบบสภาคู่]]ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขฝ่ายบริหาร มี[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]เป็นผู้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจผู้แทนพระองค์ในการลงพระปรมาภิไธย ถือครองอำนาจบริหารตามรัฐธรรมนูญ ทั้งยังมี[[อำนาจที่สงวนไว้]] คืออำนาจที่ผู้สำเร็จราชการสามารถใช้ได้โดยไม่ต้องได้รับคำแนะนำ

ภายใต้รัฐธรรมนูญออสเตรเลีย ผู้สำเร็จราชการฯ ปฏิบัติตามคำแนะนำของ[[สภาบริหารส่วนกลาง (ออสเตรเลีย)|สภาบริหารส่วนกลาง]]ในการแต่งตั้ง[[รัฐมนตรี]] แต่รัฐมนตรีปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งตามอัธยาศัยของผู้สำเร็จราชการฯ และผู้สำเร็จราชการฯ มีอำนาจแต่งตั้งสภาบริหารฯ แต่เพียงผู้เดียว โดยปกติแล้ว ผู้สำเร็จราชการฯ ถูกผูกมัดตาม[[ธรรมเนียมปฏิบัติทางรัฐธรรมนูญ|ธรรมเนียม]]ให้กระทำการใดๆ ตามคำแนะนำของรัฐบาลและนายกรัฐมนตรีเท่านั้น แต่สามารถใช้อำนาจที่สงวนไว้โดยไม่ต้องรอหรือปฏิบัติตามคำแนะนำของรัฐบาล ผู้สำเร็จราชการฯ สามารถถูกปลดพ้นจากจากตำแหน่งโดยพระราชโองการจาก[[สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบทที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถ]]ตามที่นายกรัฐมนตรีถวายคำแนะนำ ดังที่หัวหน้าพรรคเสรีนิยม มัลคอล์ม เฟรเซอร์ ผู้ที่จะมีบทบาทสำคัญในวิกฤตการณ์ครั้งนี้ได้กล่าวไว้ว่า "สมเด็จพระราชินีนาถมี[[สิทธิในการดำรงตำแหน่ง]] พระองค์ไม่อาจถูกให้พ้นปลดจากตำแหน่งได้ แต่ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ถวายงานรับใช้ตามพระราชอัธยาศัย เมื่อใดไม่ทรงมีพระราชอัธยาศัยแล้ว นายกรัฐมนตรีก็สามารถปลดได้"
 
=== ภูมิหลังทางการเมือง ===
รัฐบาลพรรคแรงงานของ กอฟ วิทแลม ได้รับการเลือกตั้งในปี 1972 หลังจากที่มีรัฐบาล[[พันธมิตรระหว่างพรรคเสรีนิยมและพรรคชาติ|พันธมิตรพรรค]] (Coalition) ประกอบด้วยพรรคเสรีนิยมและพรรคชนบท บริหารราชการแผ่นดินมา 23 ปี รัฐบาลพรรคแรงงานได้รับเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรมา 9 ที่นั่ง แต่ไม่มีเสียงข้างมากในวุฒิสภา

ตามที่ได้สัญญาไว้ก่อนได้รับชนะเลือกตั้ง รัฐบาลวิทแลมได้ทำการเปลี่ยนแปลงนโยบายและออกกฎหมายใหม่เป็นจำนวนมาก พรรคฝ่ายค้านที่คุมวุฒิสภาอยู่ ยอมให้ร่างกฎหมายบางฉบับจากรัฐบาลผ่านความเห็นชอบในจากวุฒิสภา ในขณะเดียวกันก็ยับยั้งร่างกฎหมายฉบับอื่น
 
ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1974 หลังจากที่ความพยายามที่จะผ่านร่างพระราชบัญญัติจัดสรรงบประมาณถูกยับยั้งในวุฒิสภาโดยฝ่ายค้านที่นำโดยบิลลี สเน็ดเด็นหลายต่อหลายครั้ง วิทแลมจึงขอความเห็นชอบและได้รับความเห็นชอบจากผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในขณะนั้น เซอร์ พอล แฮสลัค ในการยุบสองสภา ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พรรคแรงงานได้รับการเลือกตั้งกลับมาเป็นรัฐบาลอีกครั้งโดยที่นั่งลดลง 5 เสียง พันธมิตรพรรคและพรรคแรงงานต่างก็มี 29 เสียงในวุฒิสภา โดยมีวุฒิสมาชิกอิสระ 2 เสียงเป็นผู้กุมสมดุลอำนาจไว้อยู่
 
=== เรื่องอื้อฉาวและตำแหน่งที่ว่างลง ===
ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1974 วิทแลมประสบปัญหาในการหาแหล่งเงินทุนใหม่สำหรับแผนการแผนพัฒนาประเทศ หลังจากการประชุมที่เดอะลอดจ์ ที่พำนักทำเนียบประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรี วิทแลมและรัฐมนตรี 3 คน (รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง จิม แคนส์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและวุฒิสมาชิก ลิโอเนล เมอร์ฟี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแร่และพลังงาน เร็กซ์ คอนเนอร์ ลงนามในหนังสืออนุญาตให้คอนเนอร์กู้เงิน 4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ผู้สื่อข่าวและนักเขียน อลัน รีด กล่าวว่าเอกสารดังกล่าวเปรียบเสมือน "คำสั่งประหารชีวิต" ของรัฐบาลพรรคแรงงานของนายวิทแลม
 
คอนเนอร์และรัฐมนตรีคนอื่นๆอื่น ๆ พยายามที่จะติดต่อกับนักหาทุนนักการเงินชาวปากีสถาน ทิรัธ เคมลานี ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1974 โดยเคมลานีอ้างว่าตนมีคนรู้จักที่สนใจจะลงทุนจากกลุ่มประเทศอาหรับที่เพิ่งร่ำรวยเพราะน้ำมัน หากแต่ว่าแต่ความพยายามที่จะกู้เงิน ไม่ว่าจะผ่านเคมลานี หรือผ่านหนทางทางอื่น สุดท้ายก็ไม่เป็นผลสำเร็จ จนกระทั่งกรณีนี้กลายเป็นเรื่องอื้อฉาวและถูกฝ่ายค้านวิพากย์วิจารณ์อย่างหนัก ส่งผลให้รัฐบาลเสียคะแนนความนิยมจากประชาชน
 
ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1975 วิทแลมตัดสินใจที่จะแต่งตั้งให้วุฒิสมาชิกเมอร์ฟีขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นผู้พิพากษา[[ศาลสูงแห่งออสเตรเลีย]] ถึงแม้ว่าที่นั่งของเมอร์ฟีในวุฒิสภาจะยังไม่ถึงวาระเลือกตั้งในการเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภาครั้งถัดไป ภายใต้ระบบเลือกตั้งแบบสัดส่วน พรรคแรงงานชนะ 3 ใน 5 ของที่นั่งใน[[รัฐนิวเซาท์เวลส์]] แต่ถ้าที่นั่งของเมอร์ฟีจะต้องลงแข่งด้วยเมอร์ฟีว่างลง การที่พรรคแรงงานจะชนะ 4 ใน 6 ที่นั่ง นั้นเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ยาก ดังนั้น การแต่งตั้งเมอร์ฟีจะทำให้พรรคแรงงานต้องเสียที่นั่งในวุฒิสภาไปหนึ่ง 1 ที่นั่งในการเลือกตั้งครั้งต่อไปอย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม วิทแลมยังคงตัดสินใจที่จะแต่งตั้งเมอร์ฟีอยู่ดี โดยธรรมเนียมแล้ว เมื่อตำแหน่งของวุฒิสมาชิกว่างลง สภานิติบัญญัติของรัฐควรจะแต่งตั้งวุฒิสมาชิกคนใหม่ที่มาจากพรรคการเมืองเดียวกัน นายทอม ลิววิส ผู้ว่าราชการมุขมนตรีรัฐนิวเซาท์เวลส์ที่มาจากพรรคเสรีนิยม คิดเชื่อว่าธรรมเนียมดังกล่าวควรใช้ทำตามเฉพาะในกรณีที่ตำแหน่งว่างลงเนื่องจากเพราะผู้ดำรงตำแหน่งเสียชีวิตหรือมีปัญปัญหาทางทางสุขภาพเท่านั้น จึงจัดการให้สภานิติบัญญัติของรัฐเลือกนายคลีเวอร์ บันตัน อดีตนายกเทศมนตรีเมืองอัลบูรีที่ไม่สังกัดพรรคใดๆ ขึ้นมาดำรงตำแหน่งแทนนายเมอร์ฟี
 
ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1975 สมาชิกรัฐสภาของพรรคเสรีนิยมหลายคนคิดเชื่อว่านายสเน็ดเด็นปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านได้ไม่ดีพอ และถูกเอาชนะโดยนายวิทแลมอยู่หลายครั้งในสภาผู้แทนราษฎร นายมัลคอล์ม เฟรเซอร์จึงประกาศท้าชิงตำแหน่งหัวหน้าพรรคของนายสเน็ดเด็นในวันที่ 21 มีนาคม และเอาชนะนายสเน็ดเด็นด้วยคะแนน 37 ต่อ 27 ในการให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนหลังจากที่ชนะการท้าชิงตำแหน่งหัวหน้าพรรค นายเฟรเซอร์ได้กล่าวว่า
 
{{quote|
ว่าด้วยคำถามเกี่ยวกับงบประมาณ ผมขอตอบดังนี้ ผมเชื่อว่ารัฐบาลที่ได้รับเลือกตั้งในสภาล่างและที่มีเสียงข้างมากและสามารถรักษาเสียงข้างมากในสภาล่างได้ มีสิทธิ์ที่จะคาดหวังที่จะปกครองเต็มอยู่บริหารจนครบวาระ 3 ปี นอกจากจะมีเหตุการณ์ที่ไม่ธรรมดาเกิดขึ้น  ถึงอย่างนั้นแล้ว ... ในภายภาคหน้า หากพวกเราตัดสินใจว่ารัฐบาลตกต่ำลงเสียจนฝ่ายค้านต้องใช้อำนาจใดๆ ก็ตามที่มีในการโค่นล้มรัฐบาล ผมก็อยากจะอยู่ในสถานการณ์ที่นายคุณวิทแลมตื่นขึ้นมาในเช้าวันหนึ่งและแล้วพบว่าฝ่ายค้านได้ตัดสินใจไปแล้ว และพบว่าตัวเขาเองถูกตลบหลังจนไม่ทันตั้งตัวได้แม้แต่น้อย{{sfn|Ayres|1987|p=251}}
}}
 
นายแลนซ์ บาร์นาร์ด รองนายกรัฐมนตรีคนก่อนของรัฐบาลวิทแลม ถูกท้าชิงและเอาชนะโดยนายแคนส์ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1974 หลังจากการเลือกตั้งในเดือนพฤษภาคม ปี 1974 ไม่นาน หลังจากนั้นนายวิทแลมจึงเสนอตำแหน่งฑูตให้กับนายบาร์นาร์ด ซึ่งนายบาร์นาร์ดตกลงรับในช่วงต้นปีของ ค.ศ. 1975 ถ้าการแต่งตั้งลุล่วง นายบาร์นาร์ดจะต้องลาออกจากตำแหน่งสมาชิกผู้แทนราษฎรและซึ่งจะทำให้มีเกิดการเลือกตั้งซ่อมในเขตเลือกตั้งเบสใน[[รัฐแทสมาเนียแทสเมเนีย]] สมาชิกพรรคแรงงานคิดว่านายบาร์นาร์ดควรดำรงตำแหน่ง ส.ส. ต่อไป เนื่องจากสภาพอ่อนแอของพรรคในขณะนั้น และไม่ควรได้รับการเลื่อนตำแหน่งถ้าเขาตัดสินใจลาออกก็ไม่ควรได้รับการแต่งตั้งใด ๆ [[บ็อบ ฮอว์ก|นายบ็อบ ฮอว์ก]] ประธานพรรคและผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในอนาคต กล่าวว่าการตัดสินใจแต่งตั้งนายบาร์นาร์ด เป็นการกระทำที่บ้าคลั่ง{{sfn|Kelly|1983|p=193}} นายบาร์นาร์ดเสียคะแนนความนิยมอย่างต่อเนื่องในการเลือกตั้งหลายครั้งที่ผ่านมา และในครั้งต่อไปพรรคเสรีนิยมต้องการคะแนนเพิ่มอีกแค่ 4% เปอร์เซ็นต์เท่านั้นในการเอาก็จะชนะการเลือกตั้งครั้งต่อไปในเขตเบส พรรคเสรีนิยมมีนายเควิน นิวแมน เป็นผู้สมัครตัวแทนพรรคที่ได้ทำการหาเสียงมีปฏิสัมพันธ์กับฐานเสียงมาก่อนอยู่แล้ว ในขณะที่พรรคแรงงานยังไม่มีตัวแทนและคาดว่าจะมีการคัดเลือกผู้แทนภายในพรรคที่คาดว่าจะเป็นไปอย่างดุเดือด ท้ายที่สุดแล้ว นายบาร์นาร์ดตัดสินใจลาออกและได้รับการแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชฑูตสวีเดน ปรากฎว่า การเลือกตั้งในวันที่ 28 มิถุนายนกลายเป็นความหายนะของพรรคแรงงาน โดยนายนิวแมนชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงห่างถึง 17%{{sfn|Kelly|1995|p=106}}
 
ในสัปดาห์ต่อมา นายวิทแลมไล่นายแคนส์วิทแลมปลดแคนส์ออกจากคณะรัฐมนตรี เนื่องจากนายแคนส์จงใจชี้นำรัฐสภาให้เข้าใจผิดในกรณีเงินกู้เคมลานี ทั้งยังมีเรื่องอื้อฉาวเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเขากับเลขานุการส่วนตัวประจำรัฐมนตรี จูนี เมโรซี โดยนายแฟรงค์ เครียน ขึ้นมาดำรงตำแหน่งแทนเป็นรองนายกรัฐมนตรีแทน{{sfn|Lloyd|2008|p=345}} ในตอนขณะที่นายแคนส์ถูกปลด ในเวลาเดียวกันนั้นก็มีหนึ่งเก้าอี้วุฒิสมาชิกที่ว่างลง 1 ตำแหน่งหลังจากที่วุฒิสมาชิกเบอร์ที มิลลิเนอร์จากพรรคแรงงานออสเตรเลียใน[[รัฐควีนส์แลนด์]]ได้ถึงแก่อนิจกรรมลง ตามธรรมเนียมแล้ว เมื่อตำแหน่งวุฒิสมาชิกว่างด้วยลงเนื่องด้วยสาเหตุจากผู้ดำรงตำแหน่งป่วยไข้หรือถึงแก่อนิจกรรม พรรคการเมืองของวุฒิสมาชิกที่เคยดำรงตำแหน่งก่อนหน้ามาก่อนจะเป็นพรรคที่เสนอชื่อตัวแทนต่อสภา พรรคแรงงานของรัฐควีนส์แลนด์จึงเสนอชื่อนายมัล โคลสตัน ผู้เป็นสมาชิกของพรรคในตำแหน่งสูงสุดที่ไม่ไดรับเลือกตั้งอยู่ลำดับถัดไปในบัญชีรายชื่อของพรรคในรัฐควีนส์แลนด์ในประจำปี 1974 ในรัฐควีนส์แลนด์

การเสนอชื่อนี้ทำให้เกิดสภาวะทางตันในรัฐสภาควีนส์แลนด์ เนื่องจากนายโจ เบลย์เคอ-ปีเตอร์เซน มุขมนตรีแห่งรัฐควีนส์แลนด์จากพรรคชนบท กล่าวหาว่านายโคลสตันเป็นผู้ลงมือวางเพลิงโรงเรียนระหว่างในขณะที่ประกอบอาชีพเป็นครูและมีข้อพิพาทแรงงาน{{sfn|Freudenberg|2009|p=457}} ทำให้รัฐสภาควีนส์ลงคะแนนไม่ผ่านทั้งสองครั้งญัตติเสนอชื่อที่พรรคแรงงานเสนอชื่อยื่นไปทั้ง 2 ครั้ง พรรคแรงงานปฏิเสธที่จะเสนอคนอื่นมาแทน{{sfn|Kelly|1995|pp=107–109}} นายเบยล์เคอ-ปีเตอร์เซนจึงเสนอให้พรรคของเขาซึ่งเป็นเสียงข้างมากในสภาลงคะแนนเลือกนายอัลเบิร์ต ฟีลด์ สมาชิกระดับล่างในพรรคแรงงาน ที่ติดต่อสำนักมุขมนตรีและแสดงความประสงค์ที่จะเข้ารับตำแหน่ง นายอัลเบิร์ตฟีลด์ได้ให้สัมภาษณ์ไว้ว่าเขาจะไม่สนับสนุนนายวิทแลมนวิทแลม นายฟีลด์จึงถูกขับออกจากพรรคเพราะตั้งใจจะเนื่องจากชิงตำแหน่งจากนายโคลสตัน และวุฒิสมาชิกพรรคแรงงานคว่ำบาตรพิธีสาบานตนถวายสัตย์ของนายฟีลด์{{sfn|Kelly|1995|pp=107–109}} นายวิทแลมอ้างให้ความเห็นว่าการที่รัฐสภาควีนส์แลนด์คัดสรรผู้มาดำรงตำแหน่งแทนในลักษณะนั้นนี้ เป็นผลให้วุฒิสภาถูกทำให้ "ทุจริต" และต้องแปดเปื้อน "มีมลทิน" เพราะฝ่ายค้านได้เสียงข้างมากทั้ง ๆ ที่ไม่ได้รับคะแนนเสียงส่วนใหญ่จากประชาชนในการเลือกตั้ง{{sfn|Kelly|1995|p=109}} เมื่อพรรคแรงงานทราบว่านายฟีลด์ไม่ได้แจ้งต่อกระทรวงการศึกษาของรัฐควีนส์แลนด์ล่วงหน้าอย่างน้อย 3 สัปดาห์ก่อนเข้ารับดำรงตำแหน่ง เขาจึงยังคงมีสถานะเป็นข้าราชการ ซึ่งขัดต่อคุณสมบัติในการดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกวุฒิสภา และยื่นคำร้องต่อศาลสูงเพื่อขอเรียกร้องให้การแต่งตั้งนายฟีลด์เป็นโมฆะ เป็นเหตุให้นายฟีลด์ลาพักผ่อนการประชุม อย่างไรก็ตาม พันธมิตรพรรคปฏิเสธที่จะเสนอวุฒิสมาชิกจากฝั่งตนเองให้ลาพักผ่อนการประชุมเช่นกันเดียวกัน อันซึ่งเป็นธรรมเนียมของรัฐสภาออสเตรเลียเมื่อในกรณีที่สมาชิกสภาของฝ่ายฝั่งตรงข้ามมีเหตุให้ลา ทำให้พันธมิตรพรรคมีเสียงข้างมาก 30 ต่อ 29 เสียงในวุฒิสภา{{sfn|Reid|1976|p=375}}
 
==สภาวะทางตัน==
===การเลื่อนการอนุมัติงบประมาณ===
ในวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1975 ศาลสูงมีคำตัดสินให้พระราชบัญญัติที่ผ่านการประชุมร่วมสองสภา ว่าด้วยการกำหนดให้มีวุฒิสมาชิก 2 คนจากดินแดน[[ออสเตรเลียนแคพิทอลเทร์ริทอรี]] และ 2 คนจากดินแดน[[นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี]] ที่ถูกลงคะแนนให้ผ่านในที่ประชุมร่วมสองสภา มีผลถูกต้องตามกฎหมาย

การเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภาจำเป็นต้องมีขึ้นก่อนภายในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1976 โดยวุฒิสมาชิกที่ได้รับเลือกตั้งจากการเลือกตั้งครั้งนี้จะขึ้นดำรงเข้ารับตำแหน่งได้ในวันที่ 1 กรกฎาคม ในขณะที่วุฒิสมาชิกจากดินแดนทั้งสอง รวมถึงดินแดนและวุฒิสมาชิกที่จะขึ้นเข้ามาดำรงตำแหน่งแทนนายฟีลด์และนายบันตันจะได้ขึ้นดำรงสามารถเข้ารับตำแหน่งได้ในทันที คำตัดสินของศาลสูงหมายความว่าพรรคแรงงานจะมีเสียงข้างมากในวุฒิสภาเป็นการชั่วคราว อย่างน้อยก็จนกระทั่งวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1976

เพื่อที่จะได้เสียงข้างมาก พรรคแรงงานจะต้องชนะการเลือกตั้งทั้งในเขตของฟีลด์และบันทัน ชนะอย่างน้อยหนึ่งเขตในแต่ละดินแดน และตำแหน่งที่สองของออสเตรเลียแคพิทอลเทร์ริทอรีจะต้องตกเป็นของพรรคแรงงานหรือผู้สมัครอิสระอย่าง นายจอห์น กอร์ตัน อดีตนายกรัฐมนตรีจากพรรคเสรีนิยมที่ตีตัวแตกออกห่างจากพรรคมาแล้ว ถ้าทุกสิ่งนี้เกิดขึ้น พรรคแรงงานจะมีเสียงข้างมาก 33-31 ซึ่งจะทำให้ยังสามารถอนุมัติงบประมาณได้ถ้ายังเป็นมีปัญหา และยังสามารถผ่านกฎหมายกำหนดเขตเลือกตั้งใหม่ (ที่เคยผ่านในสภาล่างมาแล้วสองครั้ง แต่ถูกวุฒิสภาตีตกไปทั้งสองครั้ง) ที่ซึ่งจะทำให้พรรคแรงงานได้เปรียบในการเลือกตั้งครั้งต่อไป
 
นักข่าวและนักเขียน อลัน รีด อธิบายสถานการณ์ของฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านในขณะที่วิกฤตทวีความรุนแรงขึ้นในช่วงกลางเดือนตุลาคมไว้ดังนี้
 
{{quote|
แม้ว่าอาจจะเป็นการพูดเกินจริงไปบ้าง ถ้าจะบอกว่าสถานการณ์ในปี 1975 คือทางเลือกระหว่างสิ่งที่ชั่วร้ายสองสิ่ง แต่ทั้งสองกลุ่มการเมืองหลักใหญ่ต่างก็มาถึงอยู่ในสถานการณ์ลำบากในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 1975 ด้วยมือที่โดยไม่มีฝั่งไหนเลยที่มีมือขาวสะอาดหมดจด เฟรเซอร์และวุฒิสมาชิกพรรคเสรีนิยมร่วมกับพรรคชนบทขาดจำนวนเสียงที่เพียงพอที่จะในการเลื่อนการอนุมัติงบประมาณจนกว่าอัลเบิร์ต แพทริก ฟีลด์จะเข้ามาดำรงรับตำแหน่งในวุฒิสภา ผู้โดยไม่ได้เข้ามาด้วยเสียงของประชาชนชาวออสเตรเลียแต่มาจากการตัดสินใจของหนึ่งในผู้นำคนเดียว คือเบลย์เคอ-ปีเตอร์เซนผู้เกลียดชังวิทแลม ส่วนวิทแลมก็ตัดสินใจก่อนที่งบประมาณจะถูกเลื่อนการอนุมัติเสียอีก ที่คิดจะริเริ่มโครงการใหญ่หลวงที่จะในการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญออสเตรเลียเฉกเช่นในลักษณะเดียวกับ[[โอลิเวอร์ ครอมเวลล์|ครอมเวลล์]] โดยไมไม่ผ่านคะแนนจากการเลือกตั้งลงคะแนนของประชาชนส่วนใหญ่ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง แต่ผ่านการใช้อิทธิพลส่วนตัวที่มีอยู่อย่างมหาศาลด้วยโดยได้รับการสนับสนุนของพรรคพวกจากลูกพรรคที่อยู่ในรัฐสภา{{sfn|Reid|1976|p=364}}
}}
 
เมื่อมีผลการตัดสินจากศาลสูง และมีกำหนดการที่จะพิจารณาร่างพระราชบัญญัติจัดสรรงบประมาณในวันที่ 16 ตุลาคม ขณะนั้นเฟรเซอร์ยังไม่ได้ตัดสินใจที่จะยับยั้งการอนุมัติงบประมาณ ฟิลิป ไอเรส นักเขียนชีวประวัติของเฟรเซอร์ ยืนยันว่า ถ้าหากไม่มีเรื่องอื้อฉาวในรัฐบาล เฟรเซอร์คงไม่ทำเช่นอย่างนั้น อย่างไรก็ตาม เคมลานี กล่าวหาว่าคอนเนอร์ไม่เคยถอนอำนาจที่ได้เคยมอบให้เขาในการหาเงินกู้และยังคงติดต่อกับคอนเนอร์อย่างต่อเนื่องจนกระทั่งถึงกลางปี 1975 ซึ่งสิ่งนี้ขัดกับคำแถลงการณ์ชี้แจงของรัฐบาล ในวันที่ 13 ตุลาคม หนังสือพิมพ์ เมลเบิร์น เฮรัลด์ ตีพิมพ์เอกสารที่สนับสนุนคำกล่าวหาของเคมลานี และในวันต่อมา คอนเนอร์ก็ลาออก เฟรเซอร์ตัดสินใจที่จะยับยั้งการอนุมัติงบประมาณ เรียกประชุม[[คณะรัฐมนตรีเงา]]และได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นเอกฉันท์จากทั้งคณะ ในการแถลงข่าว เฟรเซอร์อ้างสภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ และเรื่องอื้อฉาวที่มีมาอย่างต่อเนื่อง เป็นสาเหตุที่ตัดสินใจเช่นนั้น ถ้าไม่มีการผ่านร่างพระราชบัญญติจัดสรรงบประมาณฉบับใหม่ งบประมาณประจำปีที่ผ่านมาจะหมดลงในวันที่ 30 พฤศจิกายน
 
เฟรเซอร์ตัดสินใจที่จะยับยั้งการอนุมัติงบประมาณ โดยเรียกประชุม[[คณะรัฐมนตรีเงา]]และได้รับการสนับสนุนอย่างเป็นเอกฉันท์ ในการแถลงข่าว เฟรเซอร์อ้างสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ และเรื่องอื้อฉาวที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นสาเหตุในการตัดสินใจ ถ้าไม่มีการผ่านร่างพระราชบัญญติจัดสรรงบประมาณฉบับใหม่ งบประมาณประจำปีที่ผ่านมาจะหมดลงในวันที่ 30 พฤศจิกายน
ในวันที่ 15 ตุลาคม ผู้ว่าราชการรัฐควีนส์แลนด์ เซอร์คอลิน ฮันนาห์ กล่าวสุนทรพจน์โจมตีรัฐบาลวิทแลม ซึ่งขัดกับธรรมเนียมที่ผู้ว่าราชการรัฐจะต้องทำตัวเป็นกลาง ฮันนาห์ในขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็นผู้บริหารเครือรัฐ ซึ่งเป็นการแต่งตั้งที่ระงับไว้ โดยจะขึ้นมารักษาการณ์ในตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ก็ต่อเมื่อเคอร์ถึงแก่อนิจกรรม ลาออก หรือไม่อยู่ในประเทศออสเตรเลีย วิทแลมจึงติดต่อกับ[[พระราชวังบัคกิงแฮม]] เพื่อถอดถอนตำแหน่งที่ระงับไว้ของฮันนาห์ทันที โดยใช้เวลาสิบวันกว่าฮันนาห์จะพ้นจากตำแหน่ง แม้ว่าวิทแลมจะอ้างว่าตัวเขาเองไม่เคยคิดที่จะปลดเคอร์ในระหว่างวิกฤต แต่ในวันที่ 16 ตุลาคม ระหว่างที่เขาพูดคุยกับเคอร์ และพบกับนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย [[อับดุล ราซัก ฮุซเซน|ตุน อับดุล ราซัก]] เขากล่าวกับเคอร์ว่าถ้าวิกฤตนี้ยังคงดำเนินต่อไป "คงจะขึ้นอยู่กับว่าผมจะไปเข้าเฝ้าพระราชินีก่อนเพื่อเรียกตัวท่านกลับไป หรือท่านจะเข้าเฝ้าพระราชินีก่อนเพื่อปลดผม" เคอร์เห็นว่าคำพูดนี้คือคำขู่ แต่วิทแลมได้กล่าวในเวลาต่อมาว่าสิ่งที่พูดออกไปเป็นแค่การ "หยอกเล่น" และพูดเพียงเพื่อที่จะเปลี่ยนเรื่องเท่านั้น
 
ในวันที่ 15 ตุลาคม ผู้ว่าราชการรัฐควีนส์แลนด์ เซอร์ คอลิน ฮันนาห์ กล่าวสุนทรพจน์โจมตีรัฐบาลวิทแลม ซึ่งการทำเช่นนี้ขัดกับต่อธรรมเนียมที่ผู้ว่าราชการรัฐจะต้องทำตัวเป็นกลาง ฮันนาห์ในขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็นผู้บริหารเครือรัฐ ซึ่งเป็นการแต่งตั้งที่ถูกระงับไว้ โดย(dormant commission) เป็นตำแหน่งที่จะขึ้นมารักษาการณ์ในตำแหน่งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ก็ต่อเมื่อในกรณีที่เคอร์ถึงแก่อนิจกรรม ลาออก หรือไม่ได้อยู่ในประเทศออสเตรเลีย วิทแลมจึงติดต่อกับ[[พระราชวังบัคกิงแฮม]] เพื่อถอดถอนตำแหน่งที่ถูกระงับไว้ของฮันนาห์ทันที โดยใช้เวลาสิบวันกว่าฮันนาห์จะจึงพ้นจากตำแหน่ง แม้ว่าวิทแลมจะอ้างว่าตัวเขาเองตัวเองไม่เคยคิดที่จะปลดเคอร์ในระหว่างที่เกิดวิกฤต แต่ในวันที่ 16 ตุลาคม ระหว่างที่เขาพูดคุยอยู่กับเคอร์ และพบกับนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย [[อับดุล ราซัก ฮุซเซน|ตุน อับดุล ราซัก]] เขากล่าวพูดกับเคอร์ว่าถ้าวิกฤตนี้ยังคงดำเนินต่อไป "คงจะขึ้นอยู่กับว่าผมอะไรจะไปเข้าเฝ้าเกิดขึ้นก่อนกัน ระหว่างผมทูลพระราชินีก่อนเพื่อเรียกตัวท่านกลับไป หรือท่านจะเข้าเฝ้าทูลพระราชินีก่อนเพื่อปลดผม" เคอร์เห็นเข้าใจว่าคำสิ่งที่เคอร์พูดนี้คือคำขู่ แต่วิทแลมได้กล่าวในเวลาต่อมาว่าสิ่งที่พูดออกไปเป็นแค่การ "หยอกเล่น" และพูดเพียงเพื่อที่จะเปลี่ยนเรื่องเท่านั้น
ในวันที่ 16 และ 17 ตุลาคม วุฒิสภา ด้วยเสียงเป็นเอกฉันท์จากพันธมิตรพรรคที่เป็นเสียงข้างมาก ลงคะแนนให้เลื่อนการอนุมัติร่างพระราชบัญญติจัดสรรงบประมาณออกไป พันธมิตรพรรคมีจุดยืนว่าเคอร์สามารถปลดวิทแลมออกจากตำแหน่งได้ถ้าฝ่ายรัฐบาลไม่สามารถผ่านงบประมาณได้ นายบ็อบ เอลลิค็อทท์ อดีตรองอธิบดีอัยการในรัฐบาลของวิทแลม ซึ่งในขณะนั้นเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎรของพรรคเสรีนิยม ลงความเห็นทางกฎหมายในวันที่ 16 ตุลาคมไว้ว่า ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์มีอำนาจในการปลดวิทแลม และควรจะทำเช่นนั้นโดยทันทีหากวิทแลมไม่สามารถชี้แจงได้ว่าจะผ่านงบประมาณได้อย่างไร เอลลิค็อทท์ยังกล่าวในเชิงชี้นำว่า วิทแลมปฏิบัติต่อเคอร์ราวกับว่าเคอร์ไม่มีวิจารณญาณเป็นของตัวเอง แต่ต้องปฏิบัติตามคำเสนอแนะของนายกรัฐมนตรีเท่านั้น ทั้ง ๆ ที่ในความเป็นจริงแล้ว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สามารถและควรที่จะปลดคณะรัฐมนตรีที่ไม่สามารถผ่านงบประมาณได้ เอลลิค็อทท์กล่าวว่าเคอร์
 
ในวันที่ 16 และ 17 ตุลาคม วุฒิสภา ด้วยเสียงเป็นเอกฉันท์จากพันธมิตรพรรคที่เป็นมีเสียงข้างมาก ลงคะแนนให้เลื่อนการอนุมัติร่างพระราชบัญญติจัดสรรงบประมาณออกไป พันธมิตรพรรคมีจุดยืนว่าเคอร์สามารถปลดวิทแลมออกวิทแลมให้พ้นจากตำแหน่งได้ถ้าฝ่ายรัฐบาลไม่สามารถผ่านงบประมาณได้ นายบ็อบ เอลลิค็อทท์ อดีตรองอธิบดีอัยการรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรมในรัฐบาลของวิทแลม ซึ่งในขณะนั้นเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎรของพรรคเสรีนิยม ลงความเห็นทางกฎหมายในวันที่ 16 ตุลาคมไว้ว่า ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์มีอำนาจในการปลดวิทแลม และควรจะทำเช่นนั้นโดยทันทีหากวิทแลมไม่สามารถชี้แจงได้ว่าจะผ่านงบประมาณได้อย่างไร เอลลิค็อทท์ยังกล่าวในเชิงชี้นำว่า วิทแลมปฏิบัติต่อเคอร์วิทแลมปฏิบัติกับเคอร์ราวกับว่าเคอร์ไม่มีวิจารณญาณเป็นของตัวเอง แต่ต้องปฏิบัติตามคำเสนอแนะของนายกรัฐมนตรีเท่านั้น ทั้ง ๆ ที่ในความเป็นจริงแล้ว ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สามารถและควรที่จะปลดคณะรัฐมนตรีที่ไม่สามารถผ่านงบประมาณได้ เอลลิค็อทท์กล่าวว่าเคอร์
 
{{quote|
ควรถามท่านนายกรัฐมนตรีว่ารัฐบาลพร้อมแล้วหรือไม่ที่จะเสนอแนะแนะนำให้ท่านประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา หรือยุบสภาผู้แทนราษฎรอย่างเดียว เพื่อให้มั่นใจได้ว่าความเห็นที่ไม่ตรงกันระหว่างสองสภาจะถูกคลี่คลาย หากท่านนายกรัฐมนตรีปฏิเสธที่จะทำทั้งสองอย่าง ก็ขึ้นอยู่กับท่านผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แล้วที่จะให้คณะรัฐมนตรีที่บริหารอยู่ชุดปัจจุบันพ้นจากตำแหน่ง และหาผู้อื่นที่พร้อมจะถวายให้คำแนะนำเดียวที่เหมาะสมในเวลานี้และเป็นไปได้ นี่คือสิ่งที่ท่านควรดำเนินการ{{sfn|Kelly|1995|pp=145–146}}
}}
 
=== การปรึกษาหารือและการเจรจา ===
คนสำคัญที่เคอร์ไว้วางใจและเป็นที่ปรึกษาอย่างลับ ๆ ในเรื่องของการปลดนายกรัฐมนตรีคือ ผู้พิพากษาในศาลสูงและเพื่อนของเคอร์ เซอร์ แอนโทนี เมสัน โดยที่บทบาทของเขาไม่ถูกเปิดเผยจนกระทั่งปี 2012 เมื่อนักเขียนชีวประวัติของวิทแลม เจนนี ฮ็อกคิง เปิดเผยรายละเอียดของในบันทึกการปรึกษาหารือระหว่างเคอร์และเมสัน ที่เคอร์เป็นผู้เก็บไว้ เคอร์ระบุว่าเมสัน "มีบทบาทสำคัญที่สุดต่อความคิดของข้าพเจ้า" และเขียนถึงเมสันโดยเล่าการบอกความลับกับเมสัน "เพื่อเตรียมใจในสิ่งที่ข้าพเจ้ากำลังจะทำกระทำ" บทบาทของเมสันนั้นรวมไปถึงการร่างคำสั่งให้พ้นจากตำแหน่งให้กับเคอร์ และเขายังอ้าวอ้างว่าเคยให้คำปรึกษาเคอร์ว่า "เพื่อความยุติธรรมเป็นธรรม" เคอร์ควรที่จะเตือนวิทแลมก่อนถึงว่ามีเจตนาที่จะให้เขาพ้นจากตำแหน่ง แต่เคอร์ไม่ได้ทำตาม เมสันเขียนว่าการสนทนากับเคอร์เริ่มขึ้นในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1975 และจบลงในบ่ายวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975 เขาปฏิเสธคำขอร้องของเคอร์ที่จะอนุญาตให้เปิดเผยบทบาทของเขาสู่สาธารณะ เคอร์โทรศัพท์หาวิทแลมในวันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม เพื่อขออนุญาตปรึกษากับประธานศาลสูง เซอร์การ์ฟีลด์ บาร์วิค เกี่ยวกับวิกฤตที่เกิดขึ้นในเวลานั้น วิทแลมแนะนำไม่ให้เคอร์ทำเช่นนั้น โดยตั้งข้อสังเกตว่าไม่มีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คนไหนที่ขอคำปรึกษาจากหัวหน้าผู้พิพากษาในสภาวะการณ์ที่คล้ายกันมาตั้งแต่ ค.ศ. 1914 สมัยที่ประเทศออสเตรเลียยังอยู่ในช่วงต้นของการสร้างรัฐธรรมนูญ วิทแลมยังตั้งข้อสังเกตอีกว่า ในบรรดาคำร้องที่ผ่านมาทั้งหมดต่อศาลสูงที่ต้องการคัดค้านกฎหมายของฝ่ายรัฐบาลแต่ไม่สำเร็จ บาร์วิคนั้นอยู่ในเสียงข้างน้อยที่ตัดสินในทางตรงข้ามกับฝ่ายรัฐบาล ในวันที่ 21 ตุลาคม เคอร์โทรศัพท์หาวิทแลมเกี่ยวกับความคิดเห็นของเอลลิค็อทท์และถามว่า "ทั้งหมดนี้เป็นเรื่องโกหกทั้งเพใช่ไหม" วิทแลมตอบในทางที่เห็นด้วยกับเคอร์ จากนั้นเคอร์จึงขอให้ฝ่ายรัฐบาลลงความเห็นทางกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อตอบโต้ความเห็นของเอลลิค็อทท์ แต่เคอร์ไม่ได้รับหนังสือข้อเสนอแนะดังกล่าวจากรัฐบาลจนกระทั่งวันที่ 6 พฤศจิกายน นักข่าวและนักเขียน พอล เคลลี ผู้เขียนหนังสือสองเล่มเกี่ยวกับวิกฤตนี้ ระบุว่าความล่าช้านี้เป็นความผิดพลาดอันใหญ่หลวงของวิทแลม เนื่องจากเคอร์มีภูมิหลังมาจากฝ่ายตุลาการ ในวันเดียวกัน เคอร์ยังขออนุญาตวิทแลมที่จะสัมภาษณ์เฟรเซอร์ ซึ่งนายกรัฐมนตรีให้อนุญาตในทันที และเคอร์กับเฟรเซอร์ก็พบปะกันในคืนเดียวกัน เฟรเซอร์บอกเคอร์ว่าฝ่ายค้านตั้งใจที่จะยับยั้งการอนุมัติงบประมาณ เฟรเซอร์บอกเป็นนัยว่าการตัดสินใจของฝ่ายค้านที่จะเลื่อนการอนุมัติร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ แทนที่จะตีตกไปเลย เป็นการตัดสินใจทางยุทธวิธี เนื่องจากเมื่อทำเช่นนั้น ร่างพระราชบัญญัติก็จะอยู่ในการควบคุมของวุฒิสภาและหลังจากนั้นจะอนุมัติเมื่อไรก็ได้ เขากล่าวว่าพันธมิตรพรรคเห็นด้วยกับความคิดเห็นของเอลลิค็อทท์ และเสนอให้เลื่อนอนุมัติงบประมาณต่อไประหว่างรอให้เกิดเหตุการณ์ขึ้น สื่อมวลชนไม่ทราบถึงเนื้อหาของการสนทนานี้ จึงรายงานไปเพียงว่าเคอร์พบกับเฟรเซอร์เพื่อตำหนิการยับยั้งการอนุมัติงบประมาณ ทำให้สำนักผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต้องออกมาปฏิเสธข่าวดังกล่าว
 
เคอร์โทรศัพท์หาวิทแลมในวันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม เพื่อขออนุญาตปรึกษากับประธานศาลสูง เซอร์ การ์ฟีลด์ บาร์วิค เกี่ยวกับวิกฤตที่เกิดขึ้นในเวลานั้น วิทแลมแนะนำไม่ให้เคอร์ทำเช่นนั้น โดยตั้งข้อสังเกตว่าไม่มีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คนไหนที่ขอคำปรึกษาจากหัวหน้าผู้พิพากษาในสภาวะการณ์ที่คล้ายกันมาตั้งแต่ ค.ศ. 1914 สมัยที่ประเทศออสเตรเลียยังอยู่ในช่วงแรกเริ่มของการพัฒนารัฐธรรมนูญ วิทแลมยังตั้งข้อสังเกตอีกว่า ในบรรดาคำร้องที่ผ่านมาทั้งหมดต่อศาลสูงในฟากฝั่งที่ต้องการคัดค้านกฎหมายของฝ่ายรัฐบาลแต่ไม่สำเร็จ บาร์วิคนั้นอยู่ในเสียงข้างน้อยที่ตัดสินในฝั่งตรงข้ามกับฝ่ายรัฐบาล
ตลอดวิกฤตที่เกิดขึ้น เคอร์ไม่ได้แจ้งวิทแลมให้ทราบถึงความกังวลที่ตนเองมีมากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งยังไม่เคยเสนอแนะว่าเขาอาจปลดวิทแลม เคอร์เชื่อว่าไม่ว่าเขาจะพูดสิ่งใดก็คงไม่สามารถเปลี่ยนใจวิทแลมได้ และกลัวว่า หากวิทแลมเห็นว่าเขามีโอกาสที่จะเป็นศัตรู นายกรัฐมนตรีก็อาจจะขอพระบรมราชานุญาติให้พระราชินีทรงมีพระราชโองการให้เขาพ้นจากตำแหน่ง เมื่อเป็นเช่นนั้นแล้ว แม้ว่าเคอร์จะเข้าหาวิทแลมอย่างเป็นมิตร แต่เขาไม่เคยบอกให้นายกรัฐมนตรีทราบถึงความคิดของเขาเลย วุฒิสมาชิกพรรคแรงงาน โทนี มัลวิฮิลล์ เล่าว่า "วิทแลมจะกลับมายังการประชุมผู้บริหารพรรคในแต่ละครั้ง และพูดว่า "ฉันไปพบท่านผู้สำเร็จราชการฯ มา ไม่ต้องห่วงหรอก ท่านก็เป็นของท่านอย่างนั้นแหละ" ไม่เคยเลยที่เขาจะบอกว่าท่านผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าบึ้งตึงแม้แต่ครั้งเดียว
 
ในวันที่ 21 ตุลาคม เคอร์โทรศัพท์หาวิทแลมเกี่ยวกับความคิดเห็นของเอลลิค็อทท์และถามว่า "ทั้งหมดนี้เป็นเรื่องเหลวไหลใช่ไหม" วิทแลมตอบในทางที่เห็นด้วยกับเคอร์ จากนั้นเคอร์จึงขอให้ฝ่ายรัฐบาลลงความเห็นทางกฎหมายเป็นหนังสือเพื่อตอบโต้ความเห็นของเอลลิค็อทท์ แต่เคอร์ไม่ได้รับหนังสือข้อเสนอแนะดังกล่าวจากรัฐบาลจนกระทั่งวันที่ 6 พฤศจิกายน นักข่าวและนักเขียน พอล เคลลี ผู้เขียนหนังสือสองเล่มเกี่ยวกับวิกฤตนี้ ระบุว่าความล่าช้านี้เป็นความผิดพลาดอันใหญ่หลวงของวิทแลม เนื่องจากเคอร์มีภูมิหลังมาจากฝ่ายตุลาการ
ในขณะนั้นมีความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างมาก และมีความกังวลจากประชาชนในภาวะทางตันที่เกิดขึ้น เฟรเซอร์และสมาชิกพรรคเสรีนิยมต่างก็ออกมารวบรวมแรงสนับสนุน ส.ส. ที่เป็นรัฐมนตรีเงาของพรรคเสรีนิยมก็พยายามโน้มน้าวให้องค์กรรัฐเห็นชอบกับกลยุทธ์นี้ เซอร์โธมัส เพลย์ฟอร์ด อดีตมุขมนตรีรัฐออสเตรเลียใต้ที่ดำรงตำแหน่งมาอย่างยาวนาน ออกมาแสดงความไม่เห็นด้วยต่อการยับยั้งงบประมาณ ทำให้ดอน เจสซอป วุฒิสมาชิกรัฐออสเตรเลียใต้ มีท่าทีสนับสนุนต่อกลยุทธ์นี้น้อยลง เฟรเซอร์สามารถประสานงานติดต่อกับสมาชิกพรรคเพื่อลดแรงกระเพื่อมจากสองคนนี้ เฟรเซอร์ต้องการการสนับสนุนจากอดีตนายกรัฐมนตรีพรรคเสรีนิยมที่ดำรงตำแหน่งมาอย่างยาวนานและวางมือจากการเมืองแล้ว เซอร์[[โรเบิร์ต เมนซีส์]] และไปเข้าพบกับเมนซีส์ด้วยตัวเอง โดยนำแถลงการณ์ของเมนซีส์ในปี 1947 ที่สนับสนุนการยับยั้งงบประมาณในสภาสูงของรัฐสภาวิคตอเรียไปด้วย ปรากฎว่าเฟรเซอร์ไม่จำเป็นต้องอ้างถึงแถลงการณ์นั้น โดยเมนซีส์กล่าวว่าเขาคิดว่ากลยุทธ์นี้ไม่น่าพิสมัย แต่ในกรณีเป็นสิ่งที่จำเป็น อดีตนายกรัฐมนตรีจึงออกแถลงการณ์สนับสนุนกลยุทธ์ของเฟรเซอร์
 
ในวันเดียวกัน เคอร์ยังขออนุญาตวิทแลมสัมภาษณ์เฟรเซอร์ ซึ่งก็ได้รับอนุญาตในทันที เคอร์กับเฟรเซอร์จึงพบปะในคืนเดียวกันนั้น เฟรเซอร์บอกเคอร์ว่าฝ่ายค้านตั้งใจที่จะยับยั้งการอนุมัติงบประมาณ เฟรเซอร์ยังบอกเป็นนัยว่าการตัดสินใจของฝ่ายค้านที่จะเลื่อนการอนุมัติร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ แทนที่จะตีตกไปเลย เป็นการตัดสินใจทางยุทธวิธี เพราะเมื่อทำเช่นนั้น ร่างพระราชบัญญัติก็จะอยู่ในการควบคุมของวุฒิสภาและจะอนุมัติเมื่อไรก็ได้ เขากล่าวว่าพันธมิตรพรรคเห็นด้วยกับความคิดเห็นของเอลลิค็อทท์ และเสนอให้เลื่อนอนุมัติงบประมาณต่อไประหว่างรอให้เกิดเหตุการณ์บางอย่างขึ้น สื่อมวลชนไม่ทราบถึงเนื้อหาของการสนทนานี้ จึงรายงานไปเพียงว่าเคอร์พบกับเฟรเซอร์เพื่อตำหนิการยับยั้งการอนุมัติงบประมาณ ทำให้สำนักงานผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ต้องออกมาปฏิเสธข่าวดังกล่าว
เคอร์เชิญวิทแลม และรัฐมนตรีกระทรวงแรงงาน วุฒิสมาชิก จิม แม็คเคลแลนด์ ไปรับประทานอาหารกลางวันในวันที่ 30 ตุลาคม ก่อนหน้าการประชุมสภาบริหาร ในระหว่างมื้ออาหาร เคอร์ได้เสนอข้อตกลงประนีประนอมที่เป็นไปได้ คือฝ่ายค้านจะอนุมัติงบประมาณ แต่วิทแลมจะต้องไม่เสนอแนะให้มีการเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภาจนกระทั่งเดือนพฤษภาคม หรือเดือนมิถุนายน ปี 1976 และจะไม่เปิดประชุมวุฒิสภาจนกระทั่ง 1 กรกฎาคม โดยการทำเช่นนี้จะทำให้ไม่มีทางเกิดเสียงข้างมากจากพรรคแรงงานเป็นการชั่วคราวได้ วิทแลมที่มุ่งมั่นที่จะทำลายทั้งภาวะผู้นำของเฟรเซอร์ และสิทธิ์ในการยับยั้งงบประมาณของวุฒิสภา ปฏิเสธที่จะประนีประนอมใด ๆ
 
ตลอดวิกฤตที่เกิดขึ้น เคอร์ไม่ได้แจ้งวิทแลมให้ทราบถึงความกังวลที่ของตนเองที่มีมากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งยังและไม่เคยเสนอแนะเลยว่าเขาอาจจะปลดวิทแลม เคอร์เชื่อว่าไม่ว่าเขาจะพูดสิ่งใดอะไรก็คงไม่สามารถเปลี่ยนใจวิทแลมได้ และกลัวว่า หากวิทแลมเห็นว่าเขามีโอกาสที่จะเป็นศัตรู นายกรัฐมนตรีก็อาจจะขอพระบรมราชานุญาติให้พระราชินีทรงมีพระราชโองการให้ปลดเขาพ้นจากตำแหน่ง เมื่อเป็นเช่นนั้นแล้ว แม้ว่าเคอร์จะเข้าหาวิทแลมอย่างเป็นมิตร แต่เขาไม่เคยบอกให้นายกรัฐมนตรีได้ทราบถึงความคิดของเขาเลย วุฒิสมาชิกพรรคแรงงาน โทนี มัลวิฮิลล์ เล่าว่า "วิทแลมจะกลับมายังการประชุมผู้บริหารพรรคในแต่ละทุกครั้ง และแล้วพูดว่า "ฉันไปพบท่านผู้สำเร็จราชการฯ มา ไม่ต้องห่วงหรอก ท่านก็เป็นของท่านอย่างนั้นแหละ" ไม่เคยเลยที่เขาจะบอกว่าท่านผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ทำหน้าบึ้งตึงแม้แต่ครั้งเดียว
 
ในขณะนั้นมีความสนใจและความกังวลจากประชาชนเป็นอย่างมาก และมีความกังวลจากประชาชนในภาวะทางตันที่เกิดขึ้น เฟรเซอร์และสมาชิกพรรคเสรีนิยมต่างก็ออกมาพยายามรวบรวมแรงสนับสนุน ส่วน ส.ส. ที่เป็นรัฐมนตรีเงาของพรรคเสรีนิยมก็พยายามโน้มน้าวให้องค์กรรัฐเห็นชอบกับกลยุทธ์นี้ เซอร์ โธมัส เพลย์ฟอร์ด อดีตมุขมนตรีรัฐออสเตรเลียใต้ที่ดำรงตำแหน่งมาอย่างยาวนาน ออกมาแสดงความไม่เห็นด้วยต่อการยับยั้งงบประมาณ ทำให้ดอน เจสซอป วุฒิสมาชิกรัฐออสเตรเลียใต้ มีท่าทีสนับสนุนหวั่นไหวต่อการสนับสนุนกลยุทธ์นี้น้อยลง เฟรเซอร์สามารถประสานงานติดต่อกับสมาชิกพรรคคนอื่น ๆ เพื่อลดแรงกระเพื่อมจากสองคนนี้ได้ เฟรเซอร์ต้องการด้วยการขอการสนับสนุนจากเซอร์ [[โรเบิร์ต เมนซีส์]] อดีตนายกรัฐมนตรีพรรคเสรีนิยมที่ดำรงตำแหน่งมาอย่างยาวนานและผู้วางมือจากการเมืองทางการเมืองแล้ว เซอร์[[โรเบิร์ต เมนซีส์]] และเข้าไปเข้าพบกับเมนซีส์ด้วยตัวเอง โดยนำแถลงการณ์ของเมนซีส์ในปี 1947 ที่สนับสนุนการยับยั้งงบประมาณในสภาสูงของรัฐสภาวิคตอเรียไปด้วย ปรากฎว่าเฟรเซอร์ไม่จำเป็นต้องอ้างอ้างอิงถึงแถลงการณ์นั้น โดยเมนซีส์กล่าวว่าเขาคิดว่ากลยุทธ์นี้ไม่น่าพิสมัย แต่ในกรณีนี้ เป็นสิ่งที่จำเป็น อดีตนายกรัฐมนตรีจึงออกแถลงการณ์สนับสนุนกลยุทธ์ของเฟรเซอร์
 
เคอร์เชิญวิทแลม และรัฐมนตรีกระทรวงแรงงาน วุฒิสมาชิก จิม แม็คเคลแลนด์ ไปรับประทานอาหารกลางวันในวันที่ 30 ตุลาคม ก่อนหน้าการประชุมสภาบริหาร ในระหว่างมื้ออาหาร เคอร์ได้เสนอข้อตกลงประนีประนอมที่เป็นไปได้ คือฝ่ายค้านจะอนุมัติงบประมาณ แต่วิทแลมจะต้องไม่เสนอแนะให้มีการเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภาจนกระทั่งเดือนพฤษภาคม หรือเดือนมิถุนายน ปี 1976 และจะไม่เปิดประชุมวุฒิสภาจนกระทั่ง 1 กรกฎาคม โดยซึ่งการทำเช่นนี้จะทำให้ไม่มีทางเกิดเสียงข้างมากจากพรรคแรงงานเป็นการชั่วคราวของพรรคแรงงานได้ วิทแลมที่มุ่งมั่นที่จะทำลายทั้งภาวะผู้นำของเฟรเซอร์ และสิทธิ์ในการยับยั้งงบประมาณของวุฒิสภา ปฏิเสธที่จะประนีประนอมใด ๆ
 
=== การตัดสินใจ ===
{{quote|เนื่องด้วยลักษณะทางอันเป็นสหพันธรัฐของในรัฐธรรมนูญของเรา และเนื่องด้วยบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญนั้น มอบอำนาจทางรัฐธรรมนูญให้กับวุฒิสภาในการไม่อนุมัติหรือเลื่อนการอนุมัติงบประมาณของรัฐบาล เนื่องด้วยหลักการที่[[หลักการรัฐบาลต้องรับผิดชอบ|รัฐบาลต้องรับผิดชอบ]] นายกรัฐมนตรีที่ไม่สามารถผ่านงบประมาณ ซึ่งรวมถึงเงินที่ใช้ในการดำเนินบริการทั่วไปของรัฐบาล จักจะต้องถวายคำแนะนำให้มีการเลือกตั้งทั่วไปหรือลาออก หากเขาปฏิเสธที่จะทำเช่นนั้น ข้าพเจ้ามีอำนาจและเป็นหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญของข้าพเจ้าในการถอนการแต่งตั้งให้เขาพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี สภาพในประเทศออสเตรเลียนั้นค่อนข้างแตกต่างจากสภาพในสหราชอาณาจักร ที่นี้ นี่รัฐบาลจักจะต้องได้รับความไว้วางใจจากทั้งสองสภาเพื่อคงไว้ซึ่งบทบัญญัติ ในสหราชอาณาจักรต้องการเพียงแค่ความไว้วางใจจากสภาสามัญชนก็เพียงพอ แต่ทั้งที่นี้และในสหราชอาณาจักร หน้าที่ของนายกรัฐมนตรีล้วนเหมือนกันในเกณฑ์ที่สำคัญที่สุด คือหากเขาไม่สามารถผ่านงบประมาณได้ก็ต้องลาออกหรือถวายคำแนะนำให้มีการเลือกตั้ง|ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เซอร์ จอห์น เคอร์ แถลงการณ์ (ลงวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975)<ref name=kerr>{{cite web|last1=Kerr|first1=John|title=Statement from John Kerr (dated 11 November 1975) explaining his decisions.|url=http://whitlamdismissal.com/documents/kerr-statement.shtml|website=WhitlamDismissal.com|accessdate=11 January 2017|archive-url=https://web.archive.org/web/20120223060041/http://whitlamdismissal.com/documents/kerr-statement.shtml|archive-date=23 February 2012|url-status=dead}}</ref>}}
 
เฟรเซอร์เป็นประธานในการประชุมผู้นำพันธมิตรพรรคในวันที่ 2 พฤศจิกายน แถลงการณ์ร่วมจากการประชุมนั้นสนับสนุนให้วุฒิสมาชิกจากพันธมิตรพรรคยับยั้งการอนุมัติงบประมาณต่อไป และยังขู่ว่า หากเคอร์ยินยอมให้วิทแลมจัดการเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภา มุขมนตรีของรัฐที่มาจากพันธมิตรพรรคจะถวายคำแนะนำให้ผู้ว่าราชการรัฐระงับการออกหมาย ไม่ให้มีการเลือกตั้งเกิดขึ้นในรัฐสี่ 4 รัฐที่ไม่ได้มีมุขมนตรีจากพรรคแรงงาน หลังจากการประชุม เฟรเซอร์ยื่นข้อเสนอประนีประนอม โดยฝ่ายค้านจะยอมอนุมัติงบประมาณหากวิทแลมตกลงที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรพร้อมกับการเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภา วิทแลมปฏิเสธข้อเสนอนั้น
 
ในวันที่ 22 ตุลาคม วิทแลมสั่งการให้อธิบดีอัยการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เค็ป เอ็นเดอร์บี ร่างเอกสารตอบโต้ความเห็นของเอลลิค็อทท์เพื่อเสนอให้กับเคอร์ เอ็นเดอร์บีมอบหมายงานนี้ให้กับรองอธิบดีอัยการรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม มัวริซ ไบเออร์สและเจ้าหน้าที่ข้าราชการคนอื่น ในวันที่ 6 พฤศจิกายน เอ็นเดอร์บีมีกำหนดเข้าพบเคอร์เพื่อเสนอความเห็นทางกฎหมาย ว่าด้วยแผนทางเลือกสำรองของรัฐบาลในกรณีที่งบประมาณหมดลง โดยจะมีการออกใบรับรองให้กับพนักงานเครือรัฐและผู้รับจ้างแทนเช็ค เพื่อและให้นำไปขึ้นเงินกับธนาคารหลังจากที่วิกฤตสิ้นสุดลง (เป็นการทำธุรกรรมที่ธนาคารชั้นนำจะไม่ยอมรับในเวลาต่อมาและพิจารณาว่าเป็นธุรกรรมที่ "มีมลทินจากสถานะผิดกฎหมาย") เอ็นเดอร์บีตัดสินใจที่จะเสนอข้อโต้แย้งเอลลิค็อทท์ต่อเคอร์ แต่เมื่อเอ็นเดอร์บีอ่านทวนตรวจตราเอกสาร เขาพบว่า ในขณะที่เอกสารดังกล่าวโต้แย้งให้กับฝ่ายรัฐบาล แต่ในเนื้อความทั้งยังยอมรับว่าวุฒิสภามีสิทธิ์ตามรัฐธรรมนูญในการยับยั้งงบประมาณ และยอมรับว่าอำนาจสำรองที่สงวนไว้นั้นยังคงมีอยู่ ซึ่งทั้งสองประเด็นนี้เอ็นเดอร์บีไม่เห็นด้วย เขาจึงนำเสนอข้อโต้แย้งต่อเคอร์ แต่ขีดฆ่าลายเซ็นของไบเออร์สและแจ้งเคอร์ให้ทราบถึงความเห็นที่ต่างออกไป เอนเดอร์บีบอกเคอร์ว่าข้อโต้แย้งของไบเออร์สเป็นเพียงปูมไบเออร์สเป็นเพียง "ภูมิหลัง" ของหนังสือคำเสนอแนะอย่างเป็นทางการ ซึ่งวิทแลมจะเป็นผู้เสนอ ในเวลาต่อมาในวันเดียวเดียวกัน เคอร์พบกับเฟรเซอร์อีกครั้ง หัวหน้าฝ่ายค้านบอกเขาว่าหากเคอร์ยังไม่ปลดวิทแลม ฝ่ายค้านจะวิจารณ์เขาในรัฐสภา ฐานที่ว่าละเลยการปฏิบัติหน้าที่
เฟรเซอร์เป็นประธานในการประชุมผู้นำพันธมิตรพรรคในวันที่ 2 พฤศจิกายน แถลงการณ์ร่วมจากการประชุมสนับสนุนให้วุฒิสมาชิกจากพันธมิตรพรรคยับยั้งการอนุมัติงบประมาณต่อไป และยังขู่ว่า หากเคอร์ยินยอมให้วิทแลมจัดการเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภา มุขมนตรีของรัฐที่มาจากพันธมิตรพรรคจะถวายคำแนะนำให้ผู้ว่าราชการรัฐระงับการออกหมาย ไม่ให้มีการเลือกตั้งเกิดขึ้นในรัฐสี่รัฐที่ไม่ได้มีมุขมนตรีจากพรรคแรงงาน หลังจากการประชุม เฟรเซอร์ยื่นข้อเสนอประนีประนอม โดยฝ่ายค้านจะยอมอนุมัติงบประมาณหากวิทแลมตกลงที่จะจัดให้มีการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรพร้อมกับการเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภา วิทแลมปฏิเสธข้อเสนอนั้น
 
เคอร์สรุปในวันที่ 6 พฤศจิกายนว่า ทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้าน ต่างไม่มีใครยอมใคร และได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง บิล เฮย์เด็น ว่างบประมาณจะหมดลงในวันที่ 27 พฤศจิกายน ผู้สำเร็จราชการฯ ตัดสินใจว่า ในเมื่อวิทแลมไม่สามารถผ่านงบประมาณ และตั้งใจที่จะไม่ลาออกหรือถวายคำแนะนำให้จัดการมีการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎร เขาจึงจำเป็นต้องปลดนายกฯ ออก และเมื่อเคอร์กลัวว่าวิทแลมจะถวายคำแนะนำให้พระราชินีขอพระบรมราชานุญาตให้มีพระบรมราชโองการให้เขาพ้นจากตำแหน่ง เขาจึงคิดว่าเป็นสิ่งเรื่องสำคัญที่จะไม่เตือนวิทแลมล่วงหน้าถึงสิ่งที่เขากำลังจะกระทำล่วงหน้า เคอร์กล่าวในเวลาต่อมาว่า หากวิทแลมต้องการที่จะปลดเขา สมเด็จพระราชินีฯ ก็จะต้องเข้ามายุ่งเกี่ยวกับการเมือง ด้วยความต้องการที่จะเพื่อยืนยันในการตัดสินใจของตัวเอง เขาจึงติดต่อกับหัวหน้าผู้พิพากษาบาร์วิคเพื่อเข้านัดพบแล้วและถามความคิดเห็นเรื่องการปลดวิทแลม บาร์วิคให้คำแนะนำเป็นลายลักษณ์อักษร โดยให้ความเห็นว่าผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สามารถและควรปลดนายกรัฐมนตรีที่ไม่สามารถผ่านงบประมาณ บาร์วิคลงรายละเอียดว่านายกรัฐมนตรีไม่ควรที่จะปฏิเสธที่จะลาออก หรือปฏิเสธที่จะถวายคำแนะนำให้จัดการมีการเลือกตั้งทั่วไป ซึ่งทั้งหมดนี้เคอร์เห็นด้วยเคอร์ก็เห็นด้วย
ในวันที่ 22 ตุลาคม วิทแลมสั่งการให้อธิบดีอัยการ เค็ป เอ็นเดอร์บี ร่างเอกสารตอบโต้ความเห็นของเอลลิค็อทท์เพื่อเสนอให้กับเคอร์ เอ็นเดอร์บีมอบหมายงานนี้ให้กับรองอธิบดีอัยการ มัวริซ ไบเออร์สและเจ้าหน้าที่คนอื่น ในวันที่ 6 พฤศจิกายน เอ็นเดอร์บีมีกำหนดเข้าพบเคอร์เพื่อเสนอความเห็นทางกฎหมาย ว่าด้วยแผนทางเลือกของรัฐบาลในกรณีงบประมาณหมดลง จะมีการออกใบรับรองให้กับพนักงานเครือรัฐและผู้รับจ้างแทนเช็ค เพื่อนำไปขึ้นเงินกับธนาคารหลังจากที่วิกฤตสิ้นสุดลง เป็นการทำธุรกรรมที่ธนาคารชั้นนำจะไม่ยอมรับและพิจารณาว่าเป็นธุรกรรมที่ "มีมลทินจากสถานะผิดกฎหมาย" เอ็นเดอร์บีตัดสินใจที่จะเสนอข้อโต้แย้งเอลลิค็อทท์ต่อเคอร์ เมื่อเอ็นเดอร์บีอ่านทวนเอกสาร เขาพบว่า ในขณะที่เอกสารดังกล่าวโต้แย้งให้ฝ่ายรัฐบาล แต่ในเนื้อความทั้งยอมรับว่าวุฒิสภามีสิทธิ์ตามรัฐธรรมนูญในการยับยั้งงบประมาณ และยอมรับว่าอำนาจสำรองนั้นยังคงมีอยู่ ทั้งสองประเด็นนี้เอ็นเดอร์บีไม่เห็นด้วย เขาจึงเสนอข้อโต้แย้งต่อเคอร์ แต่ขีดฆ่าลายเซ็นของไบเออร์สและแจ้งเคอร์ให้ทราบถึงความเห็นต่าง เอนเดอร์บีบอกเคอร์ว่าข้อโต้แย้งของไบเออร์สเป็นเพียงปูมหลังของหนังสือคำเสนอแนะอย่างเป็นทางการ ซึ่งวิทแลมจะเป็นผู้เสนอ ในเวลาต่อมาในวันเดียว เคอร์พบกับเฟรเซอร์อีกครั้ง หัวหน้าฝ่ายค้านบอกเขาว่าหากเคอร์ยังไม่ปลดวิทแลม ฝ่ายค้านจะวิจารณ์เขาในรัฐสภา ฐานที่ละเลยการปฏิบัติหน้าที่
 
ในวันที่ 9 พฤศจิกายน เฟรเซอร์ติดต่อวิทแลมและเชิญให้มาเข้าร่วมการเจรจากับพันธมิตรพรรค เพื่อคลี่คลายความขัดแย้ง วิทแลมตกลงและมีการนัดหมายเป็นวันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน เวลา 9 นาฬิกา ที่อาคารรัฐสภา วันอังคารเดียวกันนั้นยังเป็นวันสุดท้ายที่สามารถประกาศให้มีการเลือกตั้งได้ ถ้าต้องการที่จะจัดการเลือกตั้งก่อนเทศกาลคริสต์มาส
เคอร์สรุปในวันที่ 6 พฤศจิกายนว่า ทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้าน ต่างไม่มีใครยอมใคร และได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีกระทรวงการคลัง บิล เฮย์เด็น ว่างบประมาณจะหมดลงในวันที่ 27 พฤศจิกายน ผู้สำเร็จราชการฯ ตัดสินใจว่า ในเมื่อวิทแลมไม่สามารถผ่านงบประมาณ และตั้งใจที่จะไม่ลาออกหรือถวายคำแนะนำให้จัดการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎร เขาจึงจำเป็นต้องปลดนายกฯ ออก และเมื่อเคอร์กลัวว่าวิทแลมจะถวายคำแนะนำพระราชินีให้มีพระบรมราชโองการให้เขาพ้นจากตำแหน่ง เขาจึงคิดว่าเป็นสิ่งสำคัญที่จะไม่เตือนวิทแลมถึงสิ่งที่เขาจะกระทำล่วงหน้า เคอร์กล่าวในเวลาต่อมาว่า หากวิทแลมต้องการที่จะปลดเขา สมเด็จพระราชินีฯ ก็จะต้องเข้ามายุ่งเกี่ยวกับการเมือง ด้วยความต้องการที่จะยืนยันในการตัดสินใจของตัวเอง เขาจึงติดต่อหัวหน้าผู้พิพากษาบาร์วิคเพื่อเข้าพบแล้วถามความคิดเห็นเรื่องการปลดวิทแลม บาร์วิคให้คำแนะนำเป็นลายลักษณ์อักษร โดยให้ความเห็นว่าผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สามารถและควรปลดนายกรัฐมนตรีที่ไม่สามารถผ่านงบประมาณ บาร์วิคลงรายละเอียดว่านายกรัฐมนตรีไม่ควรที่จะปฏิเสธที่จะลาออก หรือปฏิเสธที่จะถวายคำแนะนำให้จัดการเลือกตั้งทั่วไป ซึ่งทั้งหมดนี้เคอร์เห็นด้วย
 
ในวันที่ 9 พฤศจิกายน เฟรเซอร์ติดต่อวิทแลมและเชิญให้มาเข้าร่วมการเจรจากับพันธมิตรพรรค เพื่อสะสางข้อพิพาท วิทแลมตกลงและมีการนัดหมายการนัดพบเป็นวันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน เวลา 9 นาฬิกา ที่อาคารรัฐสภา วันอังคารนั้นยังเป็นเส้นตายที่สามารถประกาศให้มีการเลือกตั้งได้ ถ้าต้องการที่จะจัดการเลือกตั้งก่อนเทศกาลคริสต์มาส ทั้งผู้นำของฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านต่างก็อยู่ในเมืองนครเมลเบิร์นในคืนวันที่ 10 พฤศจิกายนที่งานเลี้ยงของสมุหพระนครบาล เพื่อให้มั่นใจว่าผู้นำฝ่ายค้านจะมาถึงแคนเบอร์ราได้ทันเวลานัดพบ วิทแลมจึงพาพวกเขากลับมาด้วยในเครื่องบินประจำตำแหน่งของตัวเอง ซึ่งมาถึงกรุงแคนเบอร์ราในเวลาเที่ยงคืน
 
== การปลดนายกรัฐมนตรี ==
=== การนัดพบที่ทำเนียบยาร์ราลัมลา ===
ในวันที่ 11 พฤศจิกายน เวลา 9 นาฬิกา วิทแลม พร้อมกับรองนายกรัฐมนตรี แฟรงค์ เครียน และผู้นำสภาผู้แทนราษฎร ส.ส. ฝ่ายรัฐบาล เฟรด ดาลี พบกับเฟรเซอร์ และหัวหน้าพรรคชนบท ดัก แอนโธนี แต่ไม่สามารถตกลงประนีประนอมได้ วิทแลมแจ้งให้ผู้นำฝ่ายพันธมิตรพรรคทราบว่าเขาจะถวายคำแนะนำให้เคอร์จัดประกาศให้มีการเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภาในวันที่ 13 ธันวาคม และจะไม่ยื่นขออนุมัติงบประมาณชั่วคราวก่อนการเลือกตั้ง เฟรเซอร์ผู้คิดว่าเคอร์ไม่น่าจะยอมให้มีการเลือกตั้งโดยที่งบประมาณยังไม่ผ่าน จึงเตือนวิทแลมว่าผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์อาจจะตัดสินใจในเรื่องนี้ด้วยตนเอง แต่วิทแลมมีท่าทีไม่ใส่ใจ และหลังจากสิ้นสุดการนัดพบ เขาก็โทรศัพท์หาเคอร์เพื่อขอเข้าพบ เพื่อที่จะได้ถวายคำแนะนำให้จัดการเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภา ทั้งสองคนต่างติดภารกิจในช่วงเช้า โดยเคอร์ต้องเข้าร่วมพิธีรำลึกใน[[วันสงบศึก|วันที่ระลึก]] ในขณะที่วิทแลมต้องเข้าประชุมผู้บริหารพรรคและเข้าประชุมญัตติอภิปรายตำหนิโทษที่ฝ่ายค้านเป็นผู้เสนอ ทั้งสองคนจึงนัดแนะเวลาประชุมเป็นเวลา 13 นาฬิกา แม้ว่าสำนักงานของเคอร์จะโทรหาสำนักงานของวิทแลมและยืนยันเวลาใหม่เป็น 12.45 นาฬิกา แต่สิ่งนี้ไม่ถึงหูของนายกรัฐมนตรี วิทแลมประกาศว่าจะขอให้มีการเลือกตั้งครึ่งวุฒิสภาให้ผู้บริหารพรรคทราบและได้รับการอนุมัติจากคณะผู้บริหารพรรคแล้ว
 
หลังจากที่คุยกับวิทแลมเสร็จ เคอร์ก็โทรหาเฟรเซอร์ เฟรเซอร์เล่าว่า เคอร์ถามเขาว่า หากได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี เขาจะสามารถผ่านงบประมาณ และถวายคำแนะนำให้มีการยุบสองสภาและจัดการเลือกตั้งในทันที รวมถึงจะหลีกเลี่ยงการประกาศนโยบายใหม่ หรือตรวจสอบผลงานของรัฐบาลวิทแลมจนกว่าการเลือกตั้งจะเสร็จสิ้นหรือไม่ ซึ่งเฟรเซอร์ตอบตกลง ตัวเคอร์เองปฏิเสธว่ามีการพูดคุยกันทางโทรศัพท์ แต่ทั้งสองคนเห็นตรงกันว่าเคอร์ถามคำถามชุดเดียวกันกับเฟรเซอร์ในวันเดียวกัน ก่อนที่จะแต่งตั้งให้เขาเป็นนายกรัฐมนตรี เคอร์เล่าว่า เฟรเซอร์ควรที่จะมาพบเขาที่ทำเนียบยาร์ราลัมลา เวลา 13 นาฬิกา