ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมมติฐานของค็อค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[file:Robert Koch BeW.jpg|thumb|150px|[[Robert Hermann Koch|ไฮน์ริช แฮร์มัน โรแบร์ท ค็อค]] (11 ธันวาคม 1843 – 27 พฤษภาคม 1910) [[แพทย์]][[ชาวเยอรมัน]]ผู้ริเริ่มตั้งสมมติฐานของค็อค<ref name="pages 277-310">{{cite journal |author=Koch, R. |year=1876 |title=Untersuchungen über Bakterien: V. Die Ätiologie der Milzbrand-Krankheit, begründet auf die Entwicklungsgeschichte des ''Bacillus anthracis'' |trans-title=Investigations into bacteria: V. The etiology of anthrax, based on the ontogenesis of ''Bacillus anthracis'' |language=German |journal=Cohns Beiträge zur Biologie der Pflanzen |volume=2 |issue=2 |url=http://edoc.rki.de/documents/rk/508-5-26/PDF/5-26.pdf |pages=277–310}}</ref>]]
'''สมมติฐานของค็อค''' ({{lang-en|Koch's postulates}}; {{IPAc-en|ˈ|k|ɔː|x}})<ref>[http://dictionary.reference.com/browse/koch "Koch"]. ''[[Random House Webster's Unabridged Dictionary]]''.</ref> เป็นเกณฑ์สี่ข้อที่ออกแบบมาเพื่อตั้ง[[causality|ความสัมพันธ์แบบเป็นเหตุเป็นผล]]ระหว่าง[[ไมโครบจุลชีพ]]หนึ่งๆ กับ[[โรค]]ใดโรคหนึ่ง สมมติฐาน (postulates) นี้ตั้งขึ้นโดย[[Robert Koch|โรแบร์ต ค็อค]] และ [[Friedrich Loeffler|ฟรีดดริช ลอฟเลอร์]] ในปี 1884 โดยมีรากฐานมาจากแนวความคิดเดิมที่บรรยายไว้โดย[[Jakob Henle|เยค็อบ เฮนเล]],<ref>{{cite journal |author=Evans AS |title=Causation and disease: a chronological journey. The Thomas Parran Lecture |journal=American Journal of Epidemiology |volume=108 |issue=4 |pages=249–58 |date=October 1978 |pmid=727194 |url=http://aje.oxfordjournals.org/cgi/pmidlookup?view=long&pmid=727194|doi=10.1093/oxfordjournals.aje.a112617 }}</ref> และถูกทบทวนและเผยแพร่โดยค็อคในปี 1890. ค็อคได้นำสมมติฐานนี้ไปใช้ในการอธิบาย[[สมุฏฐานวิทยา]]ของ[[อหิวาตกโรค]]และ[[วัณโรค]] แต่แนวคิดนี้ก็ได้ถูกนำไปใช้ปรับโดยทั่วไปกับโรคอื่น ๆ (generalised) ภายใต้ข้อถกเถียงมากมาย สมมติฐานนี้ตั้งขึ้นก่อนหน้าที่จะมีแนวคิดแบบสมัยใหม่ต่อการเกิดโรคของไมโครบซึ่งไม่สามารถใช้แนวคิดของค็อคในการอธิบายได้ เช่น [[ไวรัส]] ซึ่งเป็นปรสิตต่อเซลล์แบบแน่นอน และในกรณีของ[[asymptomatic carrier|พาหะไม่แสดงอาการ]] แนวคิดของค็อคได้ถูกแทนที่หลัก ๆ ด้วยเกณฑ์ชุดอื่น ๆ เช่น [[Bradford Hill criteria|เกณฑ์แบรดฟอร์ดฮิลล์]]เพื่อการศึกษาโรคติดต่อในสาธารณสุขยุคใหม่
 
==สมมติฐาน==