ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รอบประจำเดือน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{short description|รอบการตกไข่ที่มีการสลัดเยื่อบุมดลูกหากไม่เกิดการตั้งครรภ์}}
[[ไฟล์:Figure_28_02_07.jpg|right|thumb|634x634px|ภาพแสดงความก้าวหน้าของรอบประจำเดือนและฮอร์โมนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง]]
'''รอบประจำเดือน''' เป็นการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติสม่ำเสมอที่เกิดขึ้นใน[[Female reproductive system|ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง]] (โดยเฉพาะ[[มดลูก]]และ[[รังไข่]]) ซึ่งทำให้เกิด[[การตั้งครรภ์]]ขึ้นได้<ref name=Silverthorn>{{cite book |last1 = Silverthorn |first1 = Dee Unglaub | name-list-format = vanc |title = Human Physiology: An Integrated Approach |edition=6th |publisher = Pearson Education |location = Glenview, IL |year = 2013 | isbn = 978-0-321-75007-5 |pages=850–890}}</ref><ref name=Sherwood>{{cite book |last1 = Sherwood |first1 = Laurelee | name-list-format = vanc |title = Human Physiology: From Cells to Systems | edition=8th |publisher = Cengage |location = Belmont, California | year = 2013 |isbn = 978-1-111-57743-8 |pages=735–794}}</ref> รอบประจำเดือนมีความจำเป็นต่อการผลิต[[เซลล์ไข่]] และเตรียมมดลูกสำหรับการตั้งครรภ์<ref name=Silverthorn /> รอบประจำเดือนเกิดขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นและลดลงของ[[เอสโตรเจน]] วงจรนี้ส่งผลให้ความหนาของ[[Endometrium|เยื่อบุมดลูก]]และการเจริญเติบโตของ[[เซลล์ไข่|ไข่]] ไข่จะถูกปล่อยออกจากรังไข่ประมาณวันที่ 14 ในรอบ; เยื่อบุผิวที่หนาขึ้นของมดลูกให้[[สารอาหาร]]แก่ตัว[[เอ็มบริโอ]]หลังฝังตัว หากไม่เกิดการตั้งครรภ์ เยื่อบุจะถูกปล่อยออกมาเกิดเป็น[[ประจำเดือน]] หรือ "รอบเดือน"<ref name=Women2014Men/>
 
หญิงถึง 80% รายงานว่ามีอาการในช่วงหนึ่งถึงสองสัปดาห์ก่อนมีประจำเดือน<ref name=AFP2011/> อาการที่พบบ่อย ได้แก่ [[สิว]] เจ็บเต้านม ท้องอืด รู้สึกเหนื่อยล้า หงุดหงิดและพื้นอารมณ์แปรปรวน<ref name=Women2014PMS>{{cite web|title=Premenstrual syndrome (PMS) fact sheet|url=http://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/premenstrual-syndrome.html|website=Office on Women's Health, USA|access-date=23 June 2015|date=23 December 2014|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20150628073755/http://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/premenstrual-syndrome.html|archive-date=28 June 2015}}</ref> อาการเหล่านี้รบกวนชีวิตปกติและจัดเป็น[[Premenstrual syndrome|กลุ่มอาการก่อนมีประจำเดือน]]ในหญิง 20 ถึง 30% และใน 3 ถึง 8% เป็นอาการที่รุนแรง<ref name=AFP2011>{{cite journal | vauthors = Biggs WS, Demuth RH | title = Premenstrual syndrome and premenstrual dysphoric disorder | journal = American Family Physician | volume = 84 | issue = 8 | pages = 918–24 | date = October 2011 | pmid = 22010771 }}</ref>
 
รอบแรกมักเริ่มระหว่างอายุ 12 ถึง 15 ปี เรียก [[Menarche|การเริ่มแรกมีระดู]] (menarche)<ref name=Jones2011>{{cite book|title=Women's Gynecologic Health|date=2011|publisher=Jones & Bartlett Publishers|isbn=9780763756376|page=94|url=https://books.google.com/books?id=pj_ourS3PBMC&pg=PA94}}</ref> แต่อาจพบได้เร็วสุดอายุ 8 ปี ซึ่งยังถือว่าปกติอยู่<ref name=Women2014Men>{{cite web|title=Menstruation and the menstrual cycle fact sheet|url=http://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/menstruation.html|website=Office of Women's Health, USA|access-date=25 June 2015|date=23 December 2014|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20150626134338/http://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/menstruation.html|archive-date=26 June 2015}}</ref> อายุเฉลี่ยของรอบแรกในหญิง[[ประเทศกำลังพัฒนา]]พบช้ากว่าในหญิง[[ประเทศพัฒนาแล้ว]] ระยะเวลาตรงแบบระหว่างวันแรกของรอบแรกจนถึงวันแรกของรอบถัดไป คือ 21 ถึง 45 วันในหญิงสาว และ 21 ถึง 35 วันในผู้ใหญ่ (เฉลี่ย 28 วัน<ref name=Women2014Men/><ref name=Chiazze1968/><ref name=Diaz2006>{{cite journal | vauthors = Diaz A, Laufer MR, Breech LL | title = Menstruation in girls and adolescents: using the menstrual cycle as a vital sign | journal = Pediatrics | volume = 118 | issue = 5 | pages = 2245–50 | date = November 2006 | pmid = 17079600 | doi = 10.1542/peds.2006-2481 }}</ref>) ประจำเดือนหยุดเกิดขึ้นหลัง[[วัยหมดระดู]] ซึ่งปกติเกิดระหว่างอายุ 45 และ 55 ปี<ref name=NIH2013Def>{{cite web|title=Menopause: Overview|url=http://www.nichd.nih.gov/health/topics/menopause/Pages/default.aspx|publisher=NIH|date=28 June 2013}}</ref> ปกติเลือดออกประมาณ 3 ถึง 7 วัน<ref name=Women2014Men/>
 
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเป็นตัวกำหนดรอบประจำเดือน<ref name=Women2014Men/> การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยใช้[[ยาคุมกำเนิด|การคุมกำเนิดด้วยฮอร์โมน]]เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์<ref>{{cite journal | vauthors = Klump KL, Keel PK, Racine SE, Burt SA, Burt AS, Neale M, Sisk CL, Boker S, Hu JY | display-authors = 6 | title = The interactive effects of estrogen and progesterone on changes in emotional eating across the menstrual cycle | journal = Journal of Abnormal Psychology | volume = 122 | issue = 1 | pages = 131–7 | date = February 2013 | pmid = 22889242 | pmc = 3570621 | doi = 10.1037/a0029524 }}</ref> รอบหนึ่งแบ่งออกเป็นสามระยะตามเหตุการณ์ในรังไข่ (รอบรังไข่) หรือในมดลูก (รอบมดลูก)<ref name=Silverthorn /> รอบรังไข่ประกอบด้วยระยะถุงน้อย (follicular), การตกไข่ และระยะลูเทียม (luteal) ขณะที่รอบมดลูกแบ่งออกเป็นระยะมีประจำเดือน ระยะเพิ่มจำนวน (proliferative) และระยะหลั่ง (secretory)
 
การขับเลือดประจำเดือนหยุดเมื่อปริมาณเอสโตรเจนค่อย ๆ เพิ่มขึ้นในระยะถุงน้อย และเยื่อบุมดลูกหนาตัวขึ้น ถุงน้อยในรังไข่เริ่มเติบโตภายใต้อิทธิพลของอันตรกิริยาระหว่างฮอร์โมนหลายชนิด และหลังผ่านไปหลายวัน ถุงน้อยจะเด่น (dominant) ขึ้นมาหนึ่งหรือสองถุง ส่วนถุงน้อยที่เหลือฝ่อลงและตายไป ประมาณกลางรอบ 24–36 ชั่วโมงหลังจากการเพิ่มขึ้นกระทันหันของ[[Luteinizing hormone|ฮอร์โมนลูทีไนซิง]] (luteinizing hormone, "ทำให้เหลือง") ถุงน้อยเด่นจะปล่อยเซลล์ไข่ออกมา เรียกเหตุการณ์นี้ว่า [[Ovulation|การตกไข่]] หลังการตกไข่ เซลล์ไข่อยู่ได้ไม่เกิน 24 ชั่วโมงหากไม่มี[[การปฏิสนธิ]] ส่วนถุงน้อยเด่นที่เหลืออยู่ในรังไข่จะกลายเป็น[[Corpus luteum|คอร์ปัสลูเทียม]] (corpus luteum, "กายเหลือง") ซึ่งมีหน้าที่หลักในการผลิต[[โปรเจสเตอโรน]]ปริมาณมาก ภายใต้อิทธิพลของโปรเจสเตอโรน เยื่อบุมดลูกจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อเตรียมรับการฝังตัวของเอ็มบริโอที่อาจเกิดขึ้นเพื่อทำให้เกิดการตั้งครรภ์ หากการฝังไม่เกิดขึ้นภายในประมาณสองสัปดาห์ คอร์ปัสลูเทียมจะม้วนเข้า ทำให้ระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนและสโตรเจนลดลงอย่างรวดเร็ว การลดลงของฮอร์โมนทำให้มดลูกสลัดเยื่อบุทิ้ง เป็นกระบวนการที่เรียก การมีประจำเดือน การมีประจำเดือนยังเกิดขึ้นในไพรเมตที่ใกล้ชิดกับมนุษย์ด้วย คือ [[เอป|ลิงไม่มีหาง]]และ[[ลิง]]<ref name=Kris2013>{{cite book|first1=Kristin H. | last1=Lopez | name-list-format = vanc |title=Human Reproductive Biology|date=2013|publisher=Academic Press|isbn=9780123821850|page=53|url=https://books.google.com/books?id=M4kEdSnS-pkC&pg=PA53}}</ref>
 
{{TOC limit|3}}