ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอินทราชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 9088121 สร้างโดย 171.97.76.3 (พูดคุย)
บรรทัด 22:
== พระราชกรณียกิจ ==
=== ด้านการปกครอง ===
[[เ]]มื่อปีเมื่อปี พ.ศ. 1962 [[พระมหาธรรมราชาที่ 3]] เสด็จสวรรคต [[หัวเมืองเหนือ]]ทั้งปวงเป็นจลาจลอันเนื่องมาจาก[[พระยาบาลเมือง]]และ[[พระยารามแห่งสุโขทัย|พระยาราม]]พระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาที่ 3 แย่งชิงราชสมบัติแห่ง[[กรุงสุโขทัย]]กัน เมื่อพระองค์ต้องเสด็จขึ้นไปถึง[[เมืองพระบาง]] ทั้งพระยาบาลเมืองและพระยารามได้ออกมาถวายบังคม<ref name="หน้า50">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 50</ref> เมื่อพระองค์เสด็จกลับกรุงศรีอยุธยาจึงพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรสไปครองเมืองอันเป็นเมืองลูกหลวง ได้แก่
* '''เจ้าอ้ายพระยา''' ครองเมือง[[สุพรรณบุรี]] ซึ่งเป็นเมืองลูกหลวง
* '''เจ้ายี่พระยา''' ครองเมือง[[แพรกศรีราชา]] (เมืองสรรค์) (บริเวณ[[อำเภอสรรคบุรี]] [[จังหวัดชัยนาท]])
บรรทัด 29:
 
=== ด้านการต่างประเทศ ===
เจ้านครอินทร์เคยเสด็จไปเมือง[[ประเทศจีน]]ในปี พ.ศ. 1920 เมื่อครั้งยังครอง[[แคว้นสุพรรณภูมิ|เมืองสุพรรณบุรี]]ในฐานะเจ้านครอินทร์ [[จักรพรรดิเจี้ยนเหวิน]]แห่ง[[ราชวงศ์หมิง]]ให้ความสนิทสนม อีกทั้งยังยกย่องว่าเป็นกษัตริย์เพียงพระองค์เดียวที่เคยเสด็จไปถึง[[ประเทศจีน|ราชสำนักจีน]] โดยจดหมายเหตุทางจีนออกพระนามพระองค์ว่า "เจียวลกควนอิน" ซึ่งมาจากพระนาม เจ้านครอินทร์
 
เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้ารามราชา]]เกิดข้อพิพาทกับเจ้าพระยามหาเสนาบดี เป็นเหตุให้เจ้าพระยามหาเสนาบดีหนีมาขึ้นกับพระองค์และยกกำลังเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาได้ แล้วจึงทูลเชิญพระองค์ขึ้นครองราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา หลังจากนั้น พระองค์และพระเจ้ากรุงจีนได้แต่งราชทูตเพื่อเจริญทางพระราชไมตรีระหว่างกันอีกหลายครั้ง โดยจดหมายเหตุจีนออกพระนามพระองค์หลังขึ้นครองราชสมบัติแล้วว่า "เจียวลกควนอินตอล่อทีล่า" ซึ่งมาจากพระนาม เจ้านครอินทราธิราช
บรรทัด 64:
{{พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา}}
 
{{เรียงลำดับ|อินทราชา}}
{{อายุขัย|1882|1967}}
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุพรรณภูมิ‎]]