ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารกรุงไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
| จำนวนที่ตั้ง = 1,120 สาขา<ref name="สาขา" >[http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=802 จำนวนรวมสาขาของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบ]</ref>
| พื้นที่ = ประเทศไทย
| บุคลากรหลักMRBOONMEEUDOMJIT=เอกนิติไกรฤทธิ์ นิติทัณฑ์ประภาศอุชุกานนท์ชัย <small>(ประธานกรรมการธนาคาร)</small><br>ผยง ศรีวณิช<small>(กรรมการผู้จัดการใหญ่)</small>
| บริการMRBOONMEEUDOMJIT=สถาบันการเงิน
| มูลค่าตลาดMRBOONMEEUDOMJIT=ถอนเงิน{{รายได้ กำไร}}ล้านบาท <small>(2560)</small><ref>https://www.set.or.th/set/companyhighlight.do?symbol=KTB&ssoPageId=5</ref>
บรรทัด 29:
== ประวัติ ==
=== ธนาคารมณฑล ===
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] รัฐบาลไทยในสมัยของจอมพล [[ป. พิบูลสงคราม]]ได้ดำเนินการจัดตั้งธนาคารของรัฐในรูปแบบของรัฐวิสาหกิจขึ้นเพื่อทดแทนธนาคารต่างประเทศที่ยุติการดำเนินกิจการเนื่องจากประกาศสงครามของรัฐบาลไทยต่อ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ทำให้ส่งผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก โดยทำการจัดตั้งธนาคารเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2485 โดยใช้ชื่อว่า '''บริษัท ธนาคารไทย จำกัด''' ({{lang-en|Thai Bank Company Ltd.}}) ธนาคารไทยจึงมีหน้าที่ในการดำเนินธุรกิจทดแทนธนาคารต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือเพื่อเกื้อกูลการค้าข้าวของบริษัท ข้าวไทย จำกัด ต่อมาธนาคารไทยได้เปลี่ยนชื่อเป็น '''ธนาคารมณฑล จำกัด''' ({{lang-en|The Provincial Bank Ltd.}}) เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 เพื่อมิให้ชื่อซํ้าซ้อนกับธนาคารชาติซึ่งได้เปลี่ยนชื่อเป็นธนาคารแห่งประเทศไทยรวมถึงสอดคล้องกับบทบาทในการสนับสนุนกิจการของบริษัทพาณิชย์ในจังหวัดต่าง ๆ<ref name="สถาบันการเงินของรัฐ">[http://econ.tu.ac.th/archan/rangsun/หนังสือรวมบทความจากหนังสือพิมพ์/สังคมเศรษฐกิจไทย/วิกฤติการณ์การเงินและเศรษฐกิจการเงินไทย/ภาคที่%206.pdf วิกฤติการณ์การเงินและเศรษฐกิจการเงินไทย ภาคที่ 6 สถาบันการเงินของรัฐ]</ref> โดยมีสำนักงานเป็นตึก 4 ชั้นหน้า[[สนามม้านางเลิ้ง]] [[ถนนนครสวรรค์]] แขวงสี่แยกมหานาค [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ[[กรมการปกครอง]] [[กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)|กระทรวงมหาดไทย]]) ปัจจุบัน (6 ตุลาคม พ.ศ. 2563) นาย ไกรฤทธิ์ อุชุกานนท์ชัย เป็นรองประธานกรรมการธนาคาร ประธานกรรมการบริหาร และประธานกรรมการกำกับดูแลความเสี่ยง นาย ผยง ศรีวณิช เป็น กรรมการผู้จัดการใหญ่
 
ธนาคารมณฑลได้รับการก่อตั้งโดยมีทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลังถือ 50,650 หุ้น และบริษัท ข้าวไทย จำกัด ซึ่งมีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจถือ 45,172 หุ้น ทำให้ธนาคารมณฑลมีสัดส่วนของการถือหุ้นของรัฐสูงถึงร้อยละ 95.8 และกรรมการธนาคารในระยะแรกมีความสัมพันธ์อันแนบแน่นกับ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เช่น [[วนิช ปานะนนท์]] [[แนบ พหลโยธิน]] [[พระยาเฉลิมอากาศ]] เป็นต้น และพนักงานส่วนใหญ่เป็นพนักงานเดิมจาก[[ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น|ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้]] [[สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด|ธนาคารชาร์เตอร์ด]] และ[[ธนาคารเมอร์แคนไทล์แห่งอินเดีย ลอนดอน และจีน|ธนาคารเมอร์แคนไทล์]]ที่ได้ยุติกิจการไป<ref name="สถาบันการเงินของรัฐ" />