ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามนโปเลียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 100:
เมื่อนโปเลียนได้[[รัฐประหาร 18 บรูว์แมร์|ก้าวขึ้นดำรงตำแหน่งกงสุลคนแรกของฝรั่งเศส]]ในปี ค.ศ. 1799 ได้รับช่วงต่อจาก[[สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 1|สาธารณรัฐอันวุ่นวาย]] ต่อมาเขาได้สร้างรัฐที่มีการเงินที่มั่นคง ระบบราชการที่แข็งแกร่ง และกองทัพที่ได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ในปี ค.ศ. 1805 [[จักรวรรดิออสเตรีย|ออสเตรีย]]และ[[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]]ได้จัดตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่สามและทำสงครามกับฝรั่งเศส ในการตอบโต้ นโปเลียนได้เอาชนะกองทัพรัสเซีย-ออสเตรียที่เป็นพันธมิตรกันที่เอาสเทอร์ลิทซ์ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1805 ซึ่งถือว่าเป็นชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของพระองค์ ในทางด้านทะเล บริติชได้เอาชนะกองทัพเรือร่วมกันของฝรั่งเศส-สเปนอย่างหนักหน่วงใน[[ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์]] เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1805 ชัยชนะครั้งนี้ทำให้อังกฤษสามารถควบคุมทางทะเลและป้องกัน[[แผนการบุกครองสหราชอาณาจักรของนโปเลียน|เกาะอังกฤษจากการถูกบุกครอง]] ด้วยความกังวลเกี่ยวกับการเพิ่มอำนาจของฝรั่งเศส [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]]เป็นผู้นำในการก่อตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่สี่กับรัสเซีย [[ราชอาณาจักรซัคเซิน|ซัคเซิน]] และ[[สวีเดน]] และการเริ่มต้นของสงครามในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1806 นโปเลียนได้เอาชนะปรัสเซียอย่างรวดเร็วที่เจนาและรัสเซียที่[[ยุทธการที่ฟรายด์ลันด์|ฟรายด์ลันด์]] ได้นำพาความสงบสุขที่ไม่สบายใจมาสู่ทวีป แม้ว่าสันติภาพจะล้มเหลว เมื่อสงครามได้ปะทุขึ้นมาในปี ค.ศ. 1809 เมื่อสหสัมพันธมิตรครั้งที่ห้าซึ่งเตรียมการที่แย่ นำโดยออสเตรีย ซึ่งพ่ายแพ้อย่างรวดเร็วที่[[ยุทธการที่วากรัม|วากรัม]]
 
ด้วยความหวังที่จะแบ่งแยกและทำให้บริติชอ่อนแลลงทางเศรษฐกิจผ่านทาง[[ระบบทวีป]] นโปเลียนได้เปิดฉาก[[การบุกครองโปรตุเกส (ค.ศ. 1807)|การบุกครองโปรตุเกส]]ซึ่งเป็นพันธมตรพันธมิตรเพียงหนึ่งเดียวของอังกฤษที่เหลืออยู่ในทวีปยุโรป ภายหลังจากการยึดครองลิสบอนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1807 และด้วยกองทหารฝรั่งเศสจำนวนมากที่อยู่ในสเปน นโปเลียนจึงฉวยโอกาสในการจัดการกับสเปน อดีตพันธมิตรของพระองค์ ซึ่งได้ทำการขับไล่ราชวงศ์สเปนที่ปกครองอยู่ออกไปและประกาศให้พระเชษฐาของพระองค์ขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งสเปนแทนในปี ค.ศ. 1808 เป็นพระเจ้าโจเซที่ 1 สเปนและโปรตุเกสได้ออกมาลุกฮือโดยได้รับการสนับสนุนจากบริติชและขับไล่ฝรั่งเศสออกจากคราบสมุทรไอบีเรียในปี ค.ศ. 1814 ภายหลังจาก[[สงครามคาบสมุทร|หกปีของการสู้รบ]]
 
ในขณะเดียวกัน รัสเซียไม่เต็มใจที่จะแบกรับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการค้าที่ลดลงและละเมิดระบบทวีปอยู่เป็นประจำ ทำให้นโปเลียนเปิดฉาก[[การรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศส|การบุกครองรัสเซียครั้งใหญ่]]ในปี ค.ศ. 1812 ผลลัพธ์ของการทัพครั้งนี้ได้จบลงด้วยหายนะและความพินาศย่อยยับของ[[กองทัพใหญ่]]ของนโปเลียน