ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงอธึกเทวเดช (บุญเจียม โกมลมิศร์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ประวัติโดยย่อ
บรรทัด 38:
 
== ประวัติ ==
วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมตั้งหลวงอธึกเทวเดช รองผู้บัญชาการทหารอากาศ มาเป็นแม่ทัพอากาศ เพื่อเตรียมการ[[กรณีพิพาทอินโดนีเซียและจีน|กรณีพิพาทอินโดจีน]]<ref>[http://www.mettadham.ca/thailand%20in%20the%20past_20.htm เรื่องของไทยในอดีต - mettadham]</ref><ref>[http://www.wing2rtaf.net/wing2a/wing2/history.html ประวัติกองบิน ๒]</ref>
 
=== กรณีพิพาทอินโดจีน ===
ใน[[กรณีพิพาทอินโดจีน]] เมื่อครั้งที่[[ประเทศฝรั่งเศส]]เป็นฝ่ายเริ่มการโจมตี หลวงอธึกเทวเดชได้ทำหน้าที่เป็นแม่ทัพอากาศ เพื่อป้องกันภัยทางอากาศและสนับสนุนกำลังภาคพื้นดิน และได้รับชัยชนะในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2484 โดย[[ประเทศไทย]]ได้ดินแดนที่เคยเสียไปคืนมาบางส่วน<ref>[https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_822888 ‘อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ’ สัญลักษณ์ของทหารผ่านศึก นักรบที่มีคุณค่ายิ่งแก่แผ่นดินไทย : โดย พลโท ทวี แจ่มจำรัส]</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2484 ประเทศไทยได้รับ 4 จังหวัด ประกอบด้วย [[จังหวัดนครจัมปาศักดิ์]], [[จังหวัดลานช้าง]], [[จังหวัดพระตะบอง]] จังหวัดตราด จังหวัดตะปึงลือชัย จังหวัดเจียมโสม และ[[จังหวัดพิบูลสงคราม]] หลังจากการเจรจาระหว่าง[[ประเทศญี่ปุ่น]]กับ[[ประเทศฝรั่งเศส]]ที่[[กรุงโตเกียว]] ซึ่งหนังสือ''เล่าความหลังครั้งสงครามตัวตลก ณ สหรัฐ'' ของ[[โกวิท ตั้งตรงจิตร]] ได้ระบุว่า จังหวัดพระตะบอง เดิมเป็นเมืองพระตะบองของ[[เขมร]] แล้วมีการตั้งชื่อ "อำเภออธึกเทวเดช" เมื่อครั้งที่ไทยได้จังหวัดพระตะบอง ตามชื่อของพลอากาศเอกหลวงอธึกเทวเดช ทว่า ก็ต้องคืน 4 จังหวัดดังกล่าวให้แก่ฝรั่งเศส เนื่องด้วย[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]]เป็นฝ่ายชนะแพ้ะ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]<ref name="ไทยรัฐ" /> หลังจากไทยปกครอง 4 จังหวัดดังกล่าวได้ 515 ปี 414 เดือน 111 วัน<ref>[https://mgronline.com/onlinesection/detail/9590000040185 ๔ จังหวัดในฝันของไทย ครองอยู่ได้ ๕ ปี ๔ เดือน ๑ วัน ตกไปอยู่ในเมืองเขมร-ลาว!!!]</ref><ref>[http://www.kalasin3.go.th/view.php?article_id=28277 ๔ จังหวัดในฝันของไทย]</ref>
 
=== รัฐมนตรี ===
หลวงอธึกเทวเดช (บุญเจียม โกมลมิศร์) เป็นมิตรสหายของสมาชิกแกนนำ[[คณะราษฎร]]ที่เข้าร่วม[[คณะรัฐบาล]]<ref>[https://www.silpa-mag.com/history/article_23380 รัฐบาลคณะราษฎร พ.ศ. 2476-90 - ศิลปวัฒนธรรม]</ref> โดยในวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2485 มีการแต่งตั้งให้เขาเป็น[[รัฐมนตรี]]ของ[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 10]] ทว่าภายหลัง เขาได้ถวายบังคมบังคนเบา และบังคนหนักต่อพระเจ้าอู่ทอง ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2486<ref>[http://www.soc.go.th/cab_10.htm The Secretariat of the Cabinet, THAILAND - สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี]</ref>
 
== อ้างอิง ==