ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามเย็น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ES Geqias (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:NATO vs. Warsaw (1949-1990).png|thumb|นาโต้ (ฟ้า)<br>วอร์ซอ (แดง)]]
[[ไฟล์:Berlinermauer.jpg|thumb|325px|ภาพถ่าย[[กำแพงเบอร์ลิน]]จากฝั่งตะวันตก (ฝั่งของประเทศเยอรมนีตะวันตก) กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ กำแพงเบอร์ลินเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ. 1989 เป็นสัญลักษณ์ว่าสงครามเย็นใกล้ยุติ]]
'''สงครามเย็น''' ({{lang-en|Cold War}}; {{lang-ru|Холодная война}}) เป็นช่วงเวลาแห่งความตึงเครียดทางด้าน[[ภูมิศาสตร์]]ระหว่าง[[สหภาพโซเวียต]]และ[[สหรัฐอเมริกา]]และประเทศพันธมิตรจากทั้ง[[กลุ่มตะวันออก]]และ[[กลุ่มตะวันตก]] ภายหลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ช่วงเวลาโดยทั่วไปดังกล่าวจะนับตั้งแต่การประกาศ[[ลัทธิทรูแมน]] ปี ค.ศ. 1947 จนกระทั่ง[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]]ในปี ค.ศ. 1991 ด้วยลัทธิ[[อำนาจทำลายล้างซึ่งกันและกัน]] (mutually assured destruction, MAD) ไม่เห็นด้วยที่จะให้มีการโจมตีล่วงหน้าโดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง นอกเหนือจาก[[การแข่งขันอาวุธนิวเคลียร์|การพัฒนาคลังเก็บอาวุธนิวเคลียร์]]และการใช้งานทางทหารตามแบบแผน การต่อสู้เพื่อครอบงำได้ถูกแสดงออกโดยวิธีทางอ้อม เช่น [[การสงครามจิตวิทยา|สงครามทางจิตวิทยา]] การทัพโฆษณาชวนเชื่อ [[การจารกรรมสงครามเย็น|การจารกรรม]] การคว่ำบาตรระยะไกล การแข่งขันชิงดีชิงเด่นกันในงานกีฬาและการแข่งขันทางเทคโนโลยี เช่น [[การแข่งขันอวกาศ]]
'''สงครามเย็น''' ({{lang-en|Cold War}}; {{lang-ru|Холодная война}}) เป็นสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ระหว่างประเทศ[[กลุ่มตะวันตก]] ([[สหรัฐอเมริกา]] พันธมิตร[[เนโท]] ฯลฯ) และประเทศ[[กลุ่มตะวันออก]] ([[สหภาพโซเวียต]]และพันธมิตรใน[[สนธิสัญญาวอร์ซอ]])
 
นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดคำว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ส่วนใหญ่ถือ ค.ศ. 1947–1991 "[[สงครามเย็นได้ชื่อว่า "(คำศัพท์โดยทั่วไป)|เย็น]]" เพราะได้ถูกนำมาใช้ เนื่องจากไม่มีการสู้รบขนาดใหญ่โดยตรงระหว่างสองฝ่าย[[มหาอำนาจ]] แม้มีสงครามแต่พวกเขาแต่ละฝ่ายต่างให้การสนับสนุนความขัดแย้งในภูมิภาคที่สำคัญที่เรียกว่า [[สงครามตัวแทน]] ในประเทศเกาหลี(Proxy เวียดนามwar) ความขัดแย้งนี้มีพื้นฐานมาจากการต่อสู้ทางอุดมการณ์และอัฟกานิสถานซึ่งทั้งภูมิศาสตร์เพื่ออิทธิพลทั่วโลกโดยสองฝ่ายสนับสนุนก็ตามมหาอำนาจ ภายหลังจากพวกเขาได้ตกลงเป็น[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามเย็นแบ่งแยกโลกครั้งที่สอง|พันธมิตรยามสงคราม]]ชั่วคราวเพื่อต่อกรกับและมีชัยชนะเหนือ[[นาซีเยอรมนี]]ในปี ซึ่งสหภาพค.ศ. 1945 สงครามเย็นได้แบ่งแยกพันธมิตรในช่วงสงคราม เหลือเพียงสหภาฑโซเวียตและสหรัฐอเมริกาผงาดเป็น[[อภิมหาอำนาจ]]โดยในฐานะสองมหาอำนาจที่มีข้อความแตกต่างทางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างลึกล้ำลึกซึ้ง:  คือ สหภาพโซเวียตแต่เดิมเป็นรัฐ[[ลัทธิมากซ์–มาร์กซิสต์-เลนิน]]พรรคการเมืองเดียวที่ดำเนินตามแผนเศรษฐกิจและการควบคุมสื่อ และสหรัฐอเมริกาเป็นเจ้าของสิทธิ์แต่เพียงผู้เดียวในการจัดตั้งและปกครองดูแลชุมชน และถัดมาเป็นรัฐทุนนิยมที่มีการเลือกตั้งเสรีโดยทั่วไปและสื่อโดยเสรี ซึ่งยังให้[[เสรีภาพในการพูด|เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น]]และ[[เสรีภาพในการสมาคม]]แก่พลเมืองของตน กลุ่มที่เป็นกลางที่ประกาศตนกำเนิดขึ้นด้วยตัวเองได้เกิดขึ้นพร้อมกับ[[ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด]]ซึ่งประเทศถูกก่อตั้งโดย[[อียิปต์]] [[อินเดีย]] [[อินโดนีเซีย]] และ[[ยูโกสลาเวียก่อตั้ง]] กลุ่มแยกฝ่ายนี้ได้ปฏิเสธการสมาคมความสัมพันธ์กับทั้งกลุ่มตะวันตกและกลุ่มที่นำโดยสหรัฐหรือตะวันออกที่นำโดยโซเวียต สองประเทศมหาอำนาจไม่เคยประจัญในการต่อสู้ด้วยอาวุธเต็มขั้น แต่ต่างฝ่ายต่างสั่งสมอย่างหนักเตรียมรับสงครามโลกนิวเคลียร์แบบสุดตัวขณะที่อาจเกิดขึ้น รัฐอานานิคมเกือบทั้งหมดต่างฝ่ายมีสิ่งกีดขวางนิวเคลียร์ซึ่งกีดขวาง[[การโจมตีของอีกฝ่ายให้เอกราช|ได้รับเอกราชในช่วงเวลาปี บนพื้นฐานว่าการโจมตีนั้นจะนำไปสู่การทำลายล้างฝ่ายโจมตีอย่างสิ้นซากค.ศ. คือ ลัทธิ[[อำนาจทำลายล้างซึ่งกันและกัน1945-1960]] นอกเหนือจากการพัฒนาคลังนิวเคลียร์ของสองฝ่าย และการวางกำลังทหารตามแบบแล้ว การต่อสู้เพื่อครองความพวกเขาได้กลายเป็นใหญ่ยังแสดงออกมาผ่านสงครามตัวแทนทั่วโลก การสงครามจิตวิทยา การโฆษณาชวนเชื่อและจารกรรม และการแข่งขันทางเทคโนโลยี เช่น สมรภูมิของ[[การแข่งขันอวกาศโลกที่สาม]]ในสงครามเย็น
 
ในช่วง[[สงครามเย็น (ค.ศ. 1947-1953)|ระยะแรก]]ของสงครามเย็นได้เริ่มต้นขึ้นในสองปีแรกหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1945 สหภาพโซเวียตได้รวบรวมอำนาจการควบคุมเหนือรัฐของกลุ่มตะวันออก ในขณะที่สหรัฐอเมริกาได้ริเริ่มใช้กลยุทธ์การจำกัดในการขยายตัวทั่วโลกเพื่อท้าทายอำนาจของสหภาพโซเวียต การแผ่ขยายความช่วยเหลือทางทหารและการเงินไปยังประเทศต่างๆ ในยุโรปตะวันตก (ตัวอย่างเช่น การสนับสนุนฝ่ายต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ใน[[สงครามกลางเมืองกรีซ]]) และก่อตั้งพันธมิตรนาโต้ [[การปิดกั้นเบอร์ลิน]] (ค.ศ. 1948–49) เป็นวิกฤตครั้งใหญ่ครั้งแรกของสงครามเย็น กับชัยชนะของฝ่ายคอมมิวนิสต์ใน[[สงครามกลางเมืองจีน]]และการปะทุของ[[สงครามเกาหลี]] (ค.ศ. 1950-53) ความขัดแย้งได้แผ่ขยายออกไป สหภาพโซเวียตและสหรัฐอเมริกาต่างแข่งขันกันเพื่อมีอิทธิพลใน[[ละตินอเมริกา]]และรัฐอาณานิคมที่ได้รับเอกราชจากแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในขณะเดียวกัน [[การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956|การปฏิวัติฮังการี ปี ค.ศ. 1956]] ได้ถูกยับยั้งโดยโซเวียต การขยายตัวและเพิ่มพูนมากขึ้นทำให้เกิดวิกฤตการณ์มากมาย เช่น [[วิกฤตการณ์คลองสุเอซ]] (ค.ศ. 1956) [[วิกฤตการณ์เบอร์ลิน]] ปี ค.ศ. 1961 และ[[วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา]] ปี ค.ศ. 1962 ภายหลังจากวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา [[สงครามเย็น (ค.ศ. 1962-79)|ระยะใหม่ได้เริ่มต้นขึ้น]]ซึ่งเห็นได้จาก[[ความแตกแยกระหว่างจีน–โซเวียต|ความแตกแยกระหว่างจีน-โซเวียต]]ที่มีความสัมพันธ์อันซับซ้อนในวงการคอมมิวนิสต์ ในขณะที่พันมิตรของสหรัฐ โดยเฉพาะฝรั่งเศส ได้แสดงให้เห็นถึงการมีอิสระในปฏิบัติการมากขึ้น สหภาพโซเวียตได้เข้า[[การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ|รุกราน]][[เชโกสโลวาเกีย]]และบดขยี้โครงการของการได้รับเอกราช [[ปรากสปริง]] ปี ค.ศ. 1968 ในขณะที่[[สงครามเวียดนาม]] (ค.ศ. 1955-75) ได้จบลงด้วยความพ่ายแพ้ของ[[สาธารณรัฐเวียดนามใต้]]ที่มีสหรัฐคอยหนุนหลัง ทำให้มีการปรับเปลี่ยนแผนการมากขึ้น นอกเหนือจากนี้ สหรัฐยังประสบกับความวุ่นวายภายในจากขบวนการเพื่อสิทธิพลเมืองและฝ่ายต่อต้านสงครามเวียดนาม ในปี ค.ศ. 1960-70 ขบวนการเพื่อสันติภาพระหว่างประเทศได้เกิดขึ้นในท่ามกลางประชาชนทั่วโลก ขบวนการต่อต้านการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์และเพื่อปลดอาวุธนิวเคลียร์ได้เกิดขึ้น พร้อมกับ[[การประท้วงต่อต้านสงคราม]]ขนาดใหญ่
 
ในปี ค.ศ. 1970 ทั้งสองฝ่ายได้เริ่มเอาใจใส่ในความพยายามประนีประนามเพื่อสร้างระบบระหว่างประเทศที่มีเสถียรภาพและสามารถคาดการณ์ได้มากขึ้น การเปิดฉาก[[การผ่อนคลายความตึงเครียด]]ซึ่งเห็นได้จาก[[การเจรจาจำกัดอาวุธทางยุทธศาสตร์]]และ[[การเยือนประเทศจีนของนิกสัน พ.ศ. 2515|สหรัฐได้เปิดความสัมพันธ์กับสาธารณรัฐประชาชนจีน]]ในฐานะที่เป็นตัวถ่วงดุลอำนาจทางยุทธศาสตร์ต่อสหภาพโซเวียต การผ่อนคลายความตึงเครียดได้ยุติลงในช่วงปลายทศวรรษด้วย[[สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน|สงครามโซเวียตในอัฟกานิสถาน]]ได้เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ. 1979 ช่วงต้นปี ค.ศ. 1980 เป็นช่วงเวลาแห่งความตึงเครียดที่เพิ่มสูงขึ้นอีกครั้ง ด้วยเครื่องบิน[[โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007]] ถูกโซเวียตยิงตก (ค.ศ. 1983) และ[[เอเบิล อาชเชอร์ 83|การซ้อมรบทางทหารของนาโต้ "เอเบิล อาชเชอร์"]](ค.ศ. 1983) สหรัฐอเมริกาได้เพิ่ม[[ลัทธิเรแกน|แรงกดดันทางการทูต ทางทหารและทางเศรษฐกิจ]]ต่อสหภาพโซเวียต ในช่วงเวลาที่รัฐคอมมิวนิสต์กำลังประสบปัญหาทาง[[สมัยความซบเซา|เศรษฐกิจที่กำลังซบเซา]] ในช่วงกลางปี ค.ศ. 1980 ผู้นำโซเวียตคนใหม่อย่าง[[มีฮาอิล กอร์บาชอฟ]]ได้แนะนำการปฏิรูปแบบเสรีของ[[เปเรสตรอยคา]]("การปรับโครงสร้าง", ค.ศ. 1987)และ[[กลัสนอสต์]]("โปร่งใส", ค.ศ. 1987) และยุติการมีส่วนร่วมของโซเวียตในอัฟกานิสถาน แรงกดดันเพื่อเอกราชของชาติได้เพิ่มมากขึ้นในยุโรปตะวันออกโดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ โปแลนด์ กอร์บาชอฟปฏิเสธที่จะใช้กองกำลังทหารโซเวียตเพื่อค้ำจุนระบบการปกครองกติกาสัญญาวอร์ซอที่ไม่มั่นคงแล้วดังเช่นที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ผลลัพธ์ในปี ค.ศ. 1989 คือ [[การปฏิวัติ ค.ศ. 1989|คลื่นแห่งการปฏิวัติ]]ด้วยสันติวิธี(ยกเว้นเพียง[[การปฏิวัติโรมาเนีย]]) ได้ล้มล้างระบอบคอมมิวนิสต์ทั้งหมดในยุโรปกลางและตะวันออก [[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]]ได้สูญเสียการควบคุมและถูกสั่งห้าม ภายหลังจากมี[[ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534|การพยายามก่อรัฐประหารซึ่งประสบผลไม่สำเร็จ]]ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1991 สิ่งนี้ได้นำไปสู่[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต|การล่มสลายของสหภาพโซเวียตอย่างเป็นทางการ]]ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 และการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ในประเทศอื่นๆ เช่น มองโกเลีย กัมพูชา และเยเมนใต้ สหรัฐอเมริกายังคงเป็นประเทศมหาอำนาจเพียงหนึ่งเดียวของโลกมาจนถึงทุกวันนี้
 
สงครามเย็นและเหตุการณ์ต่างๆ ได้ทิ้งมรดกที่สำคัญเอาไว้ มักจะถูกอ้างอิงถึงในวัฒนธรรมสมัยนิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยประเด็นเรื่องของการจารกรรมและภัยคุกคามของการสงครามนิวเคลียร์ ในขณะดียวกัน สถานะความตึงเครียดที่เกิดขึ้นใหม่อีกครั้งระหว่างหนึ่งในรัฐที่สืบทอดมาจากสหภาพโซเวียต [[สหพันธรัฐรัสเซีย]] และสหรัฐอเมริกาในศตวรรษที่ 21 (รวมทั้งพันธมิตรตะวันตก) เช่นเดียวกับความตึงเครียดที่เพิ่มขึ้นระหว่างจีนกับสหรัฐและพันธมิตรตะวันตกซึ่งทั้งสองฝ่ายต่างมีอำนาจมากขึ้น ซึ่งเรียกกันว่า [[สงครามเย็นครั้งที่สอง]]
 
== การใช้คำ ==