ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะโครโซม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ขยายรูป
ปรับปรุงโดยแปลจาก en:acrosome
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
'''อะโครโซม''' ({{lang-en|acrosome}}) เป็น[[ออร์แกแนลล์ออร์แกเนลล์]]ที่อยู่บริเวณส่วนหัวของตัว[[อสุจิ]] (สเปิร์ม) ของสัตว์ส่วนใหญ่รวมถึงมนุษย์ มีรูปร่างคล้ายหมวก พัฒนามาจาก[[กอลจิไจแอปพาราตัส]] เอนไซม์ในสัตว์ที่มีรกสมบูรณ์ เอนไซม์สำคัญในอะโครโซมคือรโซมคือไฮยาลูโรนิเดส (hyaluronidase) และอะโครซิน (acrosin)<ref>{{cite web |url=http://encarta.msn.com/encnet/features/dictionary/DictionaryResults.aspx?refid=1861695331 |title=acrosome definition - Dictionary - MSN Encarta |accessdate=2007-08-15 |formatarchiveurl=https://web.archive.org/web/20090214025038/http://encarta.msn.com/encnet/features/dictionary/DictionaryResults.aspx?refid=1861695331 |workarchivedate=2009-02-14 |url-status=dead }}</ref> ซึ่งจะทำลายเยื่อหุ้มสลายชั้นนอกของ[[เซลล์ไข่]] ที่เรียกว่า zona pellucida เพื่อให้นิวเคลียสแฮพลอยด์ของอสุจิเข้าไปผสมกับนิวเคลียสแฮพลอยด์ของไข่ได้<ref>{{Cite journal|last=Larson|first=Jennine L.|last2=Miller|first2=David J.|date=1999|title=Simple histochemical stain for acrosomes on sperm from several species|journal=Molecular Reproduction and Development|language=en|volume=52|issue=4|pages=445–449|doi=10.1002/(SICI)1098-2795(199904)52:4<445::AID-MRD14>3.0.CO;2-6|pmid=10092125|issn=1098-2795}}</ref>
 
การปล่อยถุงอะโครโซมหรือปฏิกิริยาอะโครโซมสามารถกระตุ้นได้ในหลอดทดลอง (in vitro) ด้วยสารที่เซลล์อสุจิอาจเจอได้ตามธรรมชาติเช่น [[โพรเจสเทอโรน]] ฟอลลิคูลาร์ฟลูอิด รวมถึงแคลเซียมไอออโนฟอร์ A23187 ที่มีการใช้อย่างแพร่หลาย ในการประเมินปฏิกิริยาอะโครโซมของตัวอย่างอสุจิโดยวิธีโฟลว์ไซโทเมทรีหรือกล้องจุลทรรศน์ฟลูออเรสเซนซ์ จะใส่สารดังกล่าวลงในชุดทดลองเพื่อให้ทำหน้าที่เป็น[[การควบคุมทางวิทยาศาสตร์#กลุ่มควบคุมแบบบวก|กลุ่มควบคุมแบบบวก]]<ref>{{cite journal |vauthors =Miyazaki R, Fukuda M, Takeuchi H, Itoh S, Takada M |title=Flow cytometry to evaluate acrosome-reacted sperm |journal=Arch. Androl. |volume=25 |issue=3 |pages=243–51 |year=1990 |pmid=2285347 |doi=10.3109/01485019008987613|doi-access=free }}</ref> ซึ่งโดยปกติจะทำหลังจากการย้อมสีด้วย fluoresceinated lectin เช่น FITC-PNA, FITC-PSA, FITC-ConA หรือ fluoresceinated antibody เช่น FITC-CD46<ref>{{cite journal |vauthors =Carver-Ward JA, Moran-Verbeek IM, Hollanders JM |title=Comparative flow cytometric analysis of the human sperm acrosome reaction using CD46 antibody and lectins |journal=J. Assist. Reprod. Genet. |volume=14 |issue=2 |pages=111–9 |date=February 1997 |pmid=9048242 |pmc=3454831|doi=10.1007/bf02765780}}</ref>
[[ไฟล์:Simplified spermatozoon diagramSimplified_spermatozoon_diagram.svg|thumb|center|thumb|550x550px|อสุจิของมนุษย์]]
ในผู้ที่มีภาวะ globozoospermia ซึ่งผลิตอสุจิที่มีส่วนหัวกลม [[กอลไจแอปพาราตัส]]จะไม่เปลี่ยนเป็นอะโครโซม ทำให้เกิด[[ภาวะการมีบุตรยาก]]<ref>{{cite book |author =Hermann Behre |author2 =Eberhard Nieschlag |title=Andrology : Male Reproductive Health and Dysfunction |publisher=Springer |location=Berlin |year=2000 |page=155 |isbn=3-540-67224-9 }}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[Acroplaxome]]
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{ออร์แกเนลล์}}
[[หมวดหมู่:ออร์แกเนลล์]]
[[หมวดหมู่:บุรุษเวชศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:กายวิภาคศาสตร์เซลล์]]
[[หมวดหมู่:โครงสร้างของเซลล์สืบพันธุ์]]
[[หมวดหมู่:ระบบสืบพันธุ์สัตว์]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}