ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอนดรูว์ แม็กเกรเกอร์ มาร์แชลล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 11:
{{quote|รอยเตอส์ไม่จัดพิมพ์เรื่องนี้เพราะเราไม่คิดว่ามันได้ผลในรูปแบบที่ถูกส่งมา เรามีคำถามเกี่ยวกับความยาว การบอกแหล่งที่มา ปรวิสัยและประเด็นกฎหมาย นอกจากนี้ เรายังกังวลว่าผู้เขียนไม่มีส่วนในกระบวนการตรวจแก้ปกติที่จะใช้กับทุกเรื่องที่รอยเตอส์จัดพิมพ์<ref>Brian Rex, [http://www.independent.co.uk/news/world/asia/monarchy-in-spotlight-tensions-that-threaten-new-turmoil-in-thailand-2301364.html "Monarchy in spotlight: tensions that threaten new turmoil in Thailand" ], The Independent, 23 June 2011</ref>}}
 
<nowiki>#thaistory</nowiki> ของมาร์แชลล์ได้รับความเห็นและการอภิปรายอย่างสำคัญ นิโคลัส ฟาร์เรลลี (Nicholas Farrelly) วุฒิบัณฑิตที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย เขียนว่า งวดแรกซึ่งจัดพิมพ์ "กลายเป็นความตื่นเต้นออนไลน์อย่างรวดเร็ว" และเสริมว่า "วิจารณญาณของเขาจะก้องในแวดวงวิเคราะห์ไทยเป็นเวลาอีกหลายปี"<ref>Nicholas Farrelly, [http://theconversation.edu.au/why-criticising-the-thai-royal-family-might-be-bad-for-your-career-2082 "Why criticising the Thai royal family might be bad for your career"], The Conversation, 6 July 2011</ref> โจชัว เคอร์แลนซิก (Joshua Kurlantzick) วุฒิบัณฑิตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สภาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกล่าวว่า งานของมาร์แชลล์ "บางทีเป็นลูกระเบิดใหญ่สุดของการรายงานเรื่องประเทศไทยในรอบหลายทศวรรษ"<ref>Joshua Kurlantzick, [http://blogs.cfr.org/asia/2011/06/27/bombshell-report-on-thailand-may-open-debate-on-monarchy/ "Bombshell Report on Thailand May Open Debate on Monarchy"], 27 June 2011</ref> Graeme Dobell แห่งสถาบันเพื่อนโยบายระหว่างประเทศโลวี (Lowy Institute for International Policy) อธิบาย #thaistory ว่า "การหนังสืพิมพ์ชั้นหนึ่ง"<ref>Graeme Dobell, [http://www.lowyinterpreter.org/post/2011/07/05/The-danger-of-a-Thai-civil-war.aspx "The danger of a Thai civil war"], 5 July 2011</ref> และ[[ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์]]แห่งสถาบันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษาเขียนว่า "มาร์แชลล์ช่วยผลักดันพรมแดนไปไกลขึ้นอย่างไม่ต้องสงสัยเมื่อผู้หนึ่งมองสถานะปัจจุบันของพระมหากษัตริย์ไทย"<ref>Pavin Chachavalpongpun, [http://www.sr-indonesia.com/index.php/downloadable-pdfs?download=16:pavin-c "Thailand’s Yingluck Factor: Can the Lady In Red Lead?"], Indonesian Strategic Review, August 2011</ref>
 
ทางการไทยมีนโยบายไม่รับรองการมีอยู่ของ[[การรั่วไหลของโทรเลขภายในสหรัฐอเมริกา|โทรเลขวิกิลีกส์]]อันเป็นที่โต้เถียง และไม่ออกความเห็นต่อ #thaistory นักวิจารณ์ชาวไทยที่เด่นที่สุด คือ ธนง ก้านทอง บรรณาธิการจัดการของหนังสือพิมพ์''[[เดอะ เนชั่น (ประเทศไทย)|เนชั่น]]'' ซึ่งตั้งคำถามถึงเวลาการจัดพิมพ์ #thaistory ซึ่งใกล้เคียงกับ[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554]] และอ้างว่า เป็นส่วนหนึ่งของแผนระหว่างประเทศเพื่อบั่นทอนเสถียรภาพของประเทศไทย<ref>Thanong Khanthong, [http://www.nationmultimedia.com/home/2011/07/01/opinion/More-confrontation-is-inevitable-30159134.html "More Confrontation is Inevitable"], The Nation, 1 July 2011</ref> บล็อกนักโทษการเมืองในประเทศไทยให้บทปริทัศน์วิจารณ์แก่ #thaistory โดยว่า มันมุ่งสนใจบทบาทและกลไกของอภิชนเกินไป นำให้ "ลดความสนใจของสำนักงานและอำนาจของตัวแสดง ประสบการณ์และทัศนะของผู้น้อยเป็นนัย"<ref>Political Prisoners in Thailand, [http://thaipoliticalprisoners.wordpress.com/2011/06/28/wikileaks-cables-truth-and-thailand/ "Wikileaks cables, truth and Thailand"], 28 June 2011</ref>