ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ยุทธนาสาระขันธ์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 82:
ในปี [[พ.ศ. 2545]] ได้มีพระราชบัญญัติปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00102282.PDF พระราชบัญญัติปรับปรุงโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอน 99 ก วันที่ 2 ตุลาคม 2545</ref> ทำให้ สช. ถูกควบรวมกับหลายหน่วยงานใน[[กระทรวงศึกษาธิการ]] แล้วเปลี่ยนเป็น '''สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน'''
 
ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 [[ราชกิจจานุเบกษา]] ได้มีการเผยแพร่คำสั่งหัวหน้า [[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] ที่ 8/2559 ซึ่งมีสาระสำคัญคือให้โอนอำนาจหน้าที่ของ '''สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน''' ในส่วนของการอาชีวศึกษาไปสังกัด [[สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา]] อันมีผลทำให้สถาบันอาชีวศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนถูกควบรวมเข้าด้วยกันโดยมีผลตั้งแต่วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559
 
== ภูมิหลังของการศึกษาเอกชน ==
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเอกชนในประเทศไทย เชื่อว่าการศึกษาประเภทนี้ได้ดำเนินการมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาแล้ว โดยเริ่มในสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] (พ.ศ. 2199 - พ.ศ. 2231) จดหมายเหตุของมองสิเออสานิเยร์ กล่าวว่า [[เจ้าพระยาวิชาเยนทร์]]ได้สร้างโรงเรียนราษฎร์ไว้หลายโรงเรียน และจากจดหมายเหตุของบาทหลวงเดอซัวลี ซึ่งเข้ามาอยู่ในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2228 ได้กล่าวถึงโรงเรียนราษฎร์ 3 โรง คือ โรงเรียนศรีอยุธยา โรงเรียนนมัสแพรนด์ และโรงเรียนสามเณร
 
ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ผู้ที่บุกเบิกการต่อตั้งโรงเรียนราษฎร์ไม่ใช่คนไทย แต่เป็นมิชชั่นนารีซึ่งเดินทางเข้ามาเผยแพร่ศาสนาในประเทศไทย โรงเรียนราษฎร์ซึ่งได้รับการจัดตั้งและสนับสนุนโดยมิชชั่นนารี ได้แก่ โรงเรียนของนามัททูน (Mrs. Mattoon) มิชชั่นนารีชาวอเมริกัน จึงเปิดสอนในปี พ.ศ. 2395 ซึ่งถือเป็นโรงเรียนราษฎร์แห่งแรกในสมัยนั้น โรงเรียนคริสเตียนไฮสกูล (The Christian High School) ปัจจุบันคือ [[โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย]] ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 24312395 เปิดสอนเฉพาะเด็กผู้ชาย สำหรับโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง (Kunsatree Wang Lang School) ปัจจุบันคือ [[โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย]] เปิดสอนเฉพาะเด็กผู้หญิง ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2417 และโรงเรียนไทย – ฝรั่ง (Thai Farang School) ปัจจุบันคือ [[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] (Assumption College) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2420
 
โรงเรียนราษฎร์ทั้ง 3 แห่งดังกล่าว ในระยะเริ่มแรกดำเนินงานเป็นเอกเทศ มิได้ถูกควบคุมโดยหน่วยงานของรัฐแต่อย่างใด จนกระทั่งปี พ.ศ. 2448 กระทรวงธรรมการ (ซึ่งต่อมาคือ [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]]) จึงเข้ามามีบทบาทในการดูแลโรงเรียนราษฎร์ทั้ง 3 แห่ง และในช่วงระยะเวลานี้เองโรงเรียนราษฎร์ซึ่งมีคนไทยเป็นเจ้าของ ก็ได้รับการจัดตั้งขึ้นชื่อโรงเรียนบำรุงวิทยา (Bamrung Wittaya School) และลงทะเบียนขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการเช่นเดียวกัน