ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอ็นแอลพี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับข้อมูลและสำนวน
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 176:
แต่องค์กรกระทรวงสาธารณสุขของประเทศคือ National Institute for Health and Care Excellence (NICE) ก็ไม่ได้อนุมัติให้ใช้ทั้งเอ็นแอลพีและ Neuro-Linguistic Psychotherapy เพื่อรักษาโรคใด{{nbsp}}ๆ<ref>{{cite web | title = Talking therapies: A four-year plan of action | publisher = Department of Health (UK) | year = 2011 | url = https://www.gov.uk/government/uploads/system/uploads/attachment_data/file/135463/dh_123985.pdf.pdf | page = 16 | accessdate = 2013-06-24}}</ref>
 
ตามสโตลส์นาว (2010) "หนังสืออัปยศ ''จากกบไปสู่เจ้าชาย'' และอื่น{{nbsp}}ๆ ของแบนด์เลอร์กับกรินเดอร์อวดว่า เอ็นแอลพีเป็นยาสารพัดโรคที่รักษาอาการทางกายและใจจำนวนมากรวมทั้งปัญหาการเรียนรู้ [[โรคลมชัก]] [[สายตาสั้น]] และ[[ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ]]
เพราะสัญญาว่าสามารถรักษา[[โรคจิตเภท]] [[โรคซึมเศร้า]] [[ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ]] และเพราะดูถูกโรคทาง[[จิตเวช]]ว่าเป็นเพียงโรคกายเหตุจิต (psychosomatic) เอ็นแอลพีจึงคล้ายกับลัทธิ/ศาสนาคือ Scientology และ (องค์กรที่เกี่ยวข้องกันคือ) Citizens Commission on Human Rights (CCHR)"<ref name="Stollznow 2010" />
[[งานทบทวนอย่างเป็นระบบ|งานทบทวนงานทดลองอย่างเป็นระบบ]]ปี 2012 สรุปว่า มีหลักฐานน้อยมากกว่า การรักษาด้วยเอ็นแอลพีปรับปรุงสุขภาพให้ดีขึ้นโดยประการใด{{nbsp}}ๆ<ref name="ingentaconnect.com">{{cite journal | last1 = Sturt | first1 = Jackie | last2 = Ali | first2 = Saima | last3 = Robertson | first3 = Wendy | last4 = Metcalfe | first4 = David | last5 = Grove | first5 = Amy | last6 = Bourne | first6 = Claire | last7 = Bridle | first7 = Chris | title = Neurolinguistic programming: a systematic review of the effects on health outcomes | journal = British Journal of General Practice | volume = 62 | issue = 604 | pages = e757-64 | date = November 2012 | doi = 10.3399/bjgp12X658287 | pmid = 23211179 | id = 23211179 | pmc = 3481516 }}</ref>