ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พญาสามฝั่งแกน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nubbkao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nubbkao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
 
ในงานวิจัย รายงานการสำรวจพื้นฐาน ทุ่งพันแอกพันเฝือเมืองแกน ของศูนย์วัฒนธรรมเชียงใหม่ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ได้สันนิษฐานว่าพระนามของพระองค์อาจมาจากทั้งชื่อเมืองพันนาฝั่งแกน หรือชื่อแม่น้ำสามฝั่งแกน ในกรณีของชื่อแม่น้ำแกน อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว อาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ สันนิษฐานว่า อาจมาจากคำว่า “กั่งแก๊น” ซึ่งตำนานเมืองแกนกล่าวว่า เป็นอาการคับแค้นใจของประชาชนในเมืองแกนที่ถูกศัตรูรุกราน แล้วกวาดต้อนผู้คนไปทำให้พลัดพรากกัน หรืออาจมาจากคำว่า “แก๊น” แปลว่ากลาง<ref>อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว. '''ล้านนาไทย อนุสรณ์พระราชพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์ [เชียงใหม่ 2526-27]'''. (เชียงใหม่ : ทิพย์เนตรการพิมพ์, 2526) , หน้า267-289.</ref>
 
พื้นเมืองเชียงแสนระบุพระนามของพระองค์ว่า“พญาสามประหญาแม่ใน” ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับวัดเชียงมั่น ระบุว่า หลังจากพระองค์ไปอยู่เมืองสาด ได้ไปอยู่ใกล้แม่น้ำใน จึงเรียกว่าพญาแม่ใน หรือพญาสามประหญาแม่ใน<ref>สรัสวดี อ๋องสกุล ปริวรรต. '''พื้นเมืองเชียงแสน'''. กรุงเทพฯ: อมรินทร์, 2546</ref>
 
== ราชวงศ์พญาสามฝั่งแกน ==