ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหประชาชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9028888 โดย BotKungด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
'''สหประชาชาติ''' หรือ '''องค์การสหประชาชาติ''' ({{lang-en|United Nations}}, ตัวย่อ: UN; {{lang-fr|Organisation des Nations unies}}) เป็นองค์การระหว่างรัฐบาลที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อรักษา[[สันติภาพโลก|สันติภาพ]]และ[[ความมั่นคงระหว่างประเทศ]] การพัฒนาความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างประเทศ บรรลุความร่วมมือระหว่างประเทศ และเป็นศูนย์กลางสำหรับการประสานงานของการกระทำของชาติต่างๆ<ref>{{Cite web|url=http://www.un.org/en/sections/un-charter/chapter-i/index.html|title=Charter of UN Chapter I|website=www.un.org|language=en|access-date=22 November 2018|date=2015-06-17|archive-url=https://web.archive.org/web/20171028091648/http://www.un.org/en/sections/un-charter/chapter-i/index.html|archive-date=28 October 2017|url-status=live|df=dmy-all}}</ref> มันเป็นองค์การระหว่างรัฐบาลที่มีขนาดใหญ่ ที่มีความรู้สึกคุ้นเคย เป็นตัวแทนในระดับสากลมากที่สุด และทรงอำนาจมากที่สุดในโลก ยูเอ็นนั้นมี[[สำนักงานใหญ่สหประชาชาติ|สำงานใหญ่]]ใน[[สิทธิสภาพนอกอาณาเขต|ดินแดนระหว่างประเทศ]]ใน[[นครนิวยอร์ก]] โดยมีสำนักงานหลักอื่นๆ ใน[[เจนีวา]] [[ไนโรบี]] [[เวียนนา]] และ[[เฮก]]
 
ยูเอ็นได้ถูกก่อตั้งขึ้นในช่วงหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] โดยมีจุดประสงค์เพื่อป้องกันการเกิดสงครามขึ้นในอนาคตและประสบความสำเร็จในสิ่งที่[[สันนิบาตชาติ]]ไม่มีประสิทธิภาพ<ref>{{cite web|url=https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/international-organization/|title=Nat Geo UN|date=2012-12-23|website=www.nationalgeographic.org.|archive-url=https://web.archive.org/web/20170427195211/http://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/international-organization/|archive-date=27 April 2017|url-status=live|access-date=27 April 2017|df=dmy-all}}</ref> เมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1945 รัฐบาล 50 ประเทศได้พบกันที่[[ซานฟรานซิสโก]]เพื่อ[[การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยองค์การระหว่างประเทศ|เข้าประชุม]]และเริ่มร่าง[[กฎบัตรสหประชาชาติ]]ซึ่งได้ประกาศใช้ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1945 และมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1945 เมื่อสหประชาติชาติได้เริ่มออกปฏิบัติการ ได้ดำเนินตามกฎบัตร วัตถุประสงค์ขององค์กร รวมทั้งการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การปกป้องสิทธมนุษยชน การให้[[ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม]] การส่งเสริม[[การพัฒนาที่ยั่งยืน]] และค้ำจุน[[กฎหมายระหว่างประเทศ]]<ref>{{cite web|url=http://www.un.org/en/sections/what-we-do/index.html|title=UN Objectives|website=www.un.org|language=en|access-date=22 November 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20181122092127/http://www.un.org/en/sections/what-we-do/index.html|archive-date=22 November 2018|url-status=live|df=dmy-all}}</ref> ในช่วงการก่อตั้ง สหประชาชาตินั้นมี[[รัฐสมาชิกสหประชาชาติ|สมาชิกรัฐ]]ถึง 51 รัฐ จำนวนนี้ได้เพิ่มขึ้นเป็น 193 รัฐ ในปี ค.ศ. 2011<ref name="UN_SouthSudan_193rd_state">{{cite web |url=https://www.un.org/apps/news/story.asp?NewsID=39034&Cr=South+Sudan&Cr1= |title=UN welcomes South Sudan as 193rd Member State |publisher=United Nations |date=28 June 2006 |accessdate=4 November 2011 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150803100613/http://www.un.org/apps/news/story.asp?NewsID=39034&Cr=South+Sudan&Cr1= |archive-date=3 August 2015 |url-status=live }}</ref> ซึ่งเป็นตัวแทนของ[[รัฐอธิปไตย]]เกือบทั้งหมดของโลก
 
ภารกิจขององค์กรในการรักษาสันติภาพของโลกนั้นมีความซับซ้อนในช่วงต้นทศวรรษที่ผ่านมาโดย[[สงครามเย็น]]ระหว่าง[[สหรัฐอเมริกา]]และ[[สหภาพโซเวียต]]และประเทศพันธมิตรของพวกเขา ภารกิจส่วนใหญ่ประกอบไปด้วย[[ผู้สังเกตการณ์ทางทหาร]]ที่ปราศจากอาวุธและกองกำลังทหารที่ติดอาวุธเบา โดยมีบทบาทหลักในการตรวจสอบ การรายงานและการสร้างความเชื่อมั่น<ref>{{cite web|url=https://peacekeeping.un.org/en/our-history|title=UN Early years of the Cold War|website=peacekeeping.un.org|access-date=22 November 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20181122132154/https://peacekeeping.un.org/en/our-history|archive-date=22 November 2018|url-status=live|df=dmy-all}}</ref> การเป็นสมาชิกยูเอ็นได้เพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลังการแยกตัวออกจากการเป็นอาณานิคมอย่างกว้างขวางในช่วงปี ค.ศ. 1960 ตั้งแต่นั้นมา อดีตอาณานิคม 80 ประเทศต่างได้รับเอกราช รวมทั้ง[[ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ|ดินแดนในภาวะทรัสตี]] 11 แห่งที่ได้รับการตรวจสอบโดย[[คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ|คณะมนตรีภาวะทรัสตี]]<ref>{{cite web|url=http://www.un.org/en/sections/issues-depth/decolonization/index.html|title=UN Decolonization|website=www.un.org|access-date=22 November 2018|date=2016-02-10|archive-url=https://web.archive.org/web/20181122132046/http://www.un.org/en/sections/issues-depth/decolonization/index.html|archive-date=22 November 2018|url-status=live|df=dmy-all}}</ref> ในปี ค.ศ. 1970 งบประมาณของยูเอ็นสำหรับโครงการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่สูงกว่าการใช้จ่ายทางด้านการรักษาสันติภาพ ภายหลังสงครามเย็นสิ้นสุดลง ยูเอ็นได้เปลี่ยนและขยายตัวการปฏิบัติการภาคสนามโดยดำเนินงานที่มีความซับซ้อนมากมาย<ref>{{cite web|url=https://peacekeeping.un.org/en/our-history|title=Post Cold War UN|website=peacekeeping.un.org|access-date=22 November 2018|archive-url=https://web.archive.org/web/20181122132154/https://peacekeeping.un.org/en/our-history|archive-date=22 November 2018|url-status=live|df=dmy-all}}</ref>
บรรทัด 44:
 
== การก่อตั้ง ==
สหประชาชาติถูกก่อตั้งเพื่อสืบทอด[[สันนิบาตชาติ|องค์การสันนิบาตชาติ]] ซึ่งถูกมองว่าไร้ประสิทธิภาพที่จะธำรงรักษาสันติภาพ ดังที่เห็นได้จากความล้มเหลวในการป้องกัน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] คำว่า "สหประชาชาติ" เป็นแนวคิดของ[[แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์]]และ[[วินสตัน เชอร์ชิลล์]]<ref>{{cite web|url=http://www.wordorigins.org/ Wordorigins.org|title=United Nations|author=Dave Wilton|date=2007-02-03}}</ref> พบใช้ครั้งแรกใน[[กฎบัตรสหประชาชาติ]] เมื่อ ค.ศ. 1942 ซึ่งเป็นการรวบรวมเอาประเทศ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]] 26 ประเทศในสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกันภายใต้การลงนามกฎบัตรแอตแลนติก และกลายเป็นคำที่ใช้เรียกองค์การนี้ในที่สุด ใน ค.ศ. 1944 ผู้แทนจาก[[ประเทศฝรั่งเศส]] [[สาธารณรัฐจีน]] [[สหราชอาณาจักร]] [[สหรัฐอเมริกา]] และ[[สหภาพโซเวียต]]เข้าร่วมประชุมเพื่อวางแผนการก่อตั้งสหประชาชาติที่[[ดัมบาตันโอกส์]]ใน[[วอชิงตัน ดี.ซี.|กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.]]<ref name=unhistory>{{cite web |url=http://www.un.org/aboutun/history.htm |title=History of the UN |publisher=United Nations |year=2000 |accessdate=2008-06-01}}</ref> การประชุมครั้งนั้นและครั้งต่อ ๆ มา ทำให้เกิดรากฐานความร่วมมือกันระหว่างประเทศเพื่อนำไปสู่สันติภาพ ความมั่นคง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสังคม โดยแผนเหล่านี้ได้ผ่านการถกเถียงอภิปรายจากรัฐบาลและประชาชนจากทั่วโลก
 
[[ไฟล์:Chile signs UN Charter 1945.jpg|thumb|right|การลงนามกฎบัตรสหประชาชาติ ณ [[ซานฟรานซิสโก]] ค.ศ. 1945]]
บรรทัด 53:
{{บทความหลัก|ระบบสหประชาชาติ}}
 
ระบบสหประชาชาติอยู่บนพื้นฐานของ 5 เสาหลัก (ไม่นับรวม[[คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ]] ซึ่งยุติการปฏิบัติงานไปใน ค.ศ. 1994<ref>{{cite web| url=http://www.un.org/News/Press/docs/2005/org1436.doc.htm|title=Membership of Principal United Nations Organs in 2005|publisher=United Nations|date=[[2005-03-15]]}}</ref>) ได้แก่ สมัชชาใหญ่ คณะมนตรีความมั่นคง คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม [[สำนักเลขาธิการสหประชาชาติ|สำนักเลขาธิการ]]และศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ สี่องค์กรในจำนวนนี้มีที่ทำการในสำนักงานใหญ่สหประชาชาติในนครนิวยอร์ก ส่วนศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตั้งอยู่ที่กรุง[[เฮก]] ส่วนองค์กรย่อย ๆ ตั้งอยู่ที่[[เจนีวา]] [[เวียนนา]]และ[[ไนโรบี]] รวมไปถึงเมืองอื่น ๆ ทั่วโลก
 
สหประชาชาติมี[[ธง]] [[ที่ทำการไปรษณีย์]] และ[[ดวงตราไปรษณียากร]]ของตนเอง ภาษาทางการที่ใช้มีอยู่ 6 ภาษา คือ [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาสเปน]] [[ภาษารัสเซีย]] [[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีน]] และ[[ภาษาอาหรับ]]<ref name=langs>{{cite web |url=http://www.un.org/Depts/DGACM/faq_languages.htm |title=FAQ: What are the official languages of the United Nations? |publisher=UN Department for General Assembly and Content Management |accessdate=2008-09-21}}</ref> โดยที่ภาษาอาหรับได้ถูกเพิ่มเข้ามาหลังสุด เมื่อปี [[ค.ศ. 1973]] ส่วนสำนักเลขาธิการนั้นใช้ 2 ภาษา คือ [[ภาษาอังกฤษ]] และ[[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาอังกฤษ]]ที่กำหนดให้เป็นมาตรฐาน คือ [[อังกฤษบริติช]] และการสะกดแบบออกซ์ฟอร์ด ส่วนภาษาจีนมาตรฐาน คือ [[อักษรจีนตัวย่อ]] ซึ่งเปลี่ยนมาจาก [[อักษรจีนตัวเต็ม]] ใน ค.ศ. 1971 เมื่อ[[จีน|สาธารณรัฐประชาชนจีน]]เป็นสมาชิกสหประชาชาติแทน[[สาธารณรัฐจีน]]
บรรทัด 211:
[[ไฟล์:UNFerretBovington.jpg|thumb|ภาพรถหุ้มเกราะของอังกฤษ ซึ่งถูกนำไปใช้ในปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ]]
 
แต่สหประชาชาติก็ได้รับคำวิจารณ์จากความล้มเหลวในการรักษาสันติภาพหลายครั้ง ในหลายกรณีที่รัฐสมาชิกปฏิบัติการด้วยความไม่เต็มใจในการปฏิบัติตามหรือการบังคับใช้มติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ซึ่งเป็นประเด็นที่ปิดกั้นธรรมชาติของรัฐบาลนานาชาติของสหประชาชาติ ดังที่เห็นได้ชัดเจนจากความร่วมมือกันของรัฐสมาชิก 192 ประเทศต้องมีความเป็นเอกฉันท์ ไม่ใช่องค์การที่มีอิสระ ความไม่เห็นด้วยกับคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติทำให้สหประชาชาติล้มเหลวที่จะป้องกัน[[เหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในรวันดา]] เมื่อปี [[ค.ศ. 1994]]<ref>{{cite web |url=http://www.hrw.org/community/bookreviews/melvern.htm|publisher=Human Rights Watch|title=Book Review: A People Betrayed, the Role of the West in Rwanda's Genocide}}</ref> ล้มเหลวที่จะป้องกันที่จะยื่นความช่วยเหลือทางมนุษยธรรมในเข้าแทรก [[สงครามคองโกครั้งที่สอง]] ล้มเหลวที่จะเข้าแทรกเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในซรีเบนนิกา เมื่อปี [[ค.ศ. 1995]] และการป้องกันผู้ลี้ภัยโดยการใช้กำลังรักษาสันติภาพ ล้มเหลวที่จะส่งอาหารให้แก่ผู้คนที่อดอยากใน[[โซมาเลีย]] ล้มเหลวที่จะปฏิบัติตามมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่เกี่ยวข้องกับ[[ความขัดแย้งอิสราเอล-ปาเลสไตน์]] และล้มเหลวในการป้องกันการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และเข้าแทรกแซงใน[[การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่ดาร์ฟูร์]] กองกำลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติตกเป็นจำเลยในการข่มขืนกระทำชำเราเยาวชน การทารุณทางเพศ หรือการใช้บริการโสเภณีระหว่างภารกิจรักษาสันติภาพหลายครั้ง ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 2003]] เป็นต้นมา ใน[[คองโก]]<ref>{{cite web|url= http://www.washingtonpost.com/wp-dyn/articles/A3145-2004Dec15.html|title=U.N. Sexual Abuse Alleged in Congo|Publisherpublisher=Washington Post|author=Colum Lynch|date=2004-12-16}}</ref> [[เฮติ]]<ref>{{cite web|url= http://news.bbc.co.uk/2/hi/americas/6195830.stm|title=UN troops face child abuse claims|Publisherpublisher=BBC News|date=2006-11-30}}</ref><ref>{{cite web|url= http://www.iht.com/articles/ap/2007/11/02/news/UN-GEN-UN-Haiti-Sexual-Exploitation.php|title=
108 Sri Lankan peacekeepers in Haiti to be repatriated after claims they paid prostitutes
| publisher = International Herald Tribune|date=2007-11-02}}</ref> [[ไลบีเรีย]]<ref>{{cite web|url= http://www.iht.com/articles/2006/05/08/news/abuse.php|title=Aid workers in Liberia accused of sex abuse|publisher=International Herald Tribune|date=2006-05-08}}</ref> [[ซูดาน]]<ref>{{cite web|url= http://www.telegraph.co.uk/news/main.jhtml?xml=/news/2007/01/03/wsudan03.xml|title= UN staff accused of raping children in Sudan|publisher=Telegraph|date=2007-01-04}}</ref> [[บุรุนดี]]และ[[โกตดิวัวร์]]<ref>{{cite web|url= http://news.bbc.co.uk/2/hi/in_depth/7420798.stm|title= UN staff accused of raping children in Sudan|publisher=BBC|date=2007-05-28}}</ref>
บรรทัด 229:
ในปี [[ค.ศ. 2006]] ได้มีการจัดตั้ง[[คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ]]ขึ้น<ref name="UN_ARES60251">{{UN document |docid=A-RES-60-251 |type=Resolution |body=สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ |session=60 |resolution_number=251 |accessdate=2007-09-19|date=15 March 2006}}</ref> เพื่อนำเสนอเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อที่ประชุม โดยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเป็นหน่วยงานซึ่งทำหน้าที่ต่อจาก[[ผู้ตรวจการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ]] ซึ่งมักจะได้รับคำวิจารณ์สำหรับตำแหน่งในการบีบรัฐสมาชิกที่ไม่ค่อยให้การสนับสนุนสิทธิมนุษยชน<ref name="nytimeseditorial">{{cite news
| title = The Shame of the United Nations
| worklanguage = en
| publisher = ''New York Times''
| pages =
| language =
| publisher = ''New York Times''
| date = 2006-02-26
| url = http://www.nytimes.com/2006/02/26/opinion/26sun2.html?_r=1&n=Top%2fOpinion%2fEditorials%20and%20Op%2dEd%2fEditorials&oref=slogin
เส้น 259 ⟶ 257:
สหประชาชาติเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจ ยกตัวอย่างเช่น การกำหนด[[เป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ]] [[สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ]]เป็นแหล่งใหญ่ที่สุดในการได้รับการสนับสนุนเฉพาะทางจากทั่วโลก องค์การอย่างเช่น [[องค์การอนามัยโลก]] โครงการต้านภัยเอดส์ กองทุนต่อต้านโรคเอดส์ วัณโรคและมาลาเรีย ได้เป็นองค์การสำคัญในการต่อต้านโรคภัยไข้เจ็บ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกลุ่มประเทศยากจน กองทุนประชากรของสหประชาชาติเป็นผู้สนับสนุนหลักของบริการระบบสืบพันธุ์ ซึ่งช่วยลดจำนวนทารกและการตายของมารดาในกว่า 100 ประเทศ
 
สหประชาชาติยังได้ส่งเสริมการพัฒนาความมั่นคงของมนุษย์ผ่านทางหน่วยงานหลายอย่าง อย่างเช่น [[ธนาคารโลก]]และ[[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ]] ซึ่งเป็นองค์กรอิสระ เป็นองค์การพิเศษและผู้สังเกตการณ์ภายในโครงสร้างของสหประชาชาติ ตามข้อตกลงของปี [[ค.ศ. 1947]] องค์การเหล่านี้ก่อตั้งขึ้นแยกต่างหากกับสหประชาชาติตามข้อตกลงเบรตตันวูดส์ในปี [[ค.ศ. 1944]]<ref>{{cite web|url=http://web.worldbank.org/WBSITE/EXTERNAL/EXTABOUTUS/0,,contentMDK:20040610~menuPK:41691~pagePK:43912~piPK:44037,00.html|title= About Us - United Nations|accessdate=2007-08-02|date=[[2003-06-30]]|publisher=The World Bank}}</ref>
 
สหประชาชาติได้การตีพิมพ์[[ดัชนีการพัฒนามนุษย์]]ทุกปี ซึ่งเป็นการจัดอันดับจากตัวชี้วัดความยากจน จำนวนผู้อ่านออกเขียนได้ การศึกษาและอายุเฉลี่ย และจากตัวแปรอื่น ๆ
เส้น 271 ⟶ 269:
แม้ว่าจะมีการจัดตั้งสถาบันเฉพาะทางของสหประชาชาติบางแห่งเช่น [[องค์การอนามัยโลก]] ขึ้นในลักษณะดังกล่าวมานี้ แต่หน่วยงานเหล่านั้นก็มิใช่อาณัติพิเศษ เพราะองค์การเหล่านั้นถือว่าเป็นองค์การถาวรซึ่งปฏิบัติงานเป็นเอกเทศจากสหประชาชาติ โดยมีโครงสร้างสมาชิกของตัวเอง อาจกล่าวได้ว่าอาณัติเริ่มแรกเป็นแต่เพียงคำสั่งที่ครอบคลุมกระบวนการก่อตั้งสถาบัน และได้สิ้นสุดอาณัติไปนานแล้ว อาณัติพิเศษส่วนใหญ่จะหมดอายุไปในช่วงเวลาที่กำหนด และต้องมีคำสั่งให้ต่ออายุจากหน่วยงานของสหประชาชาติที่เป็นผู้ก่อตั้งเพื่อจะปฏิบัติงานต่อไป
 
หนึ่งในผลจากการประชุมโลกปี 2005 คือ อาณัติพิเศษ (ชื่อว่า "[http://webapps01.un.org/mandatereview/viewBrowseMandate.do?code=17171&page=1&offset=16 id 17171]") สำหรับเลขาธิการสหประชาชาติที่จะ "ทบทวนอาณัติพิเศษทั้งหมดที่มีอายุมากกว่าห้าปีที่ได้รับมาจากมติของสมัชชาใหญ่หรือองค์การส่วนอื่น ๆ" เพื่อให้การทบทวนครั้งนี้เป็นไปโดยง่ายและต่อเนื่องกันภายในองค์การ สำนักเลขาธิการจึงได้จัดทำรายชื่ออาณัติพิเศษออนไลน์ [http://www.un.org/mandatereview/index.html] เพื่อดึงรายงานที่เกี่ยวข้องออกมาอยู่รวมกันและสร้างภาพรวมที่เด่นชัดออกมา<ref>{{cite web|url=http://www.un.org/mandatereview/executive.html|title=Mandating and Delivering - Executive Summary|date=30 มีนาคมMarch 2006|author=The Secretary-General|publisher=United Nations}}</ref>
 
=== ภารกิจด้านอื่น ๆ ===
เส้น 309 ⟶ 307:
โครงการปฏิรูปอย่างเป็นทางการ เริ่มต้นขึ้นโดย [[โคฟี แอนนัน]] ในปี [[ค.ศ. 1997]] การปฏิรูปอย่างกล่าวรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงตัวสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ซึ่งเดิมสะท้อนถึงมหาอำนาจของโลกภายหลังปี [[ค.ศ. 1945]] เพื่อให้ระบบการทำงานโปร่งใสขึ้น มีเหตุมีผลและมีประสิทธิภาพ ทำให้องค์การสหประชาชาติมีรูปแบบเป็นประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้น และมีการกำหนดภาษีศุลกากรในประดิษฐกรรมอาวุธทั่วโลก
 
ในเดือนกันยายน [[ค.ศ. 2005]] สหประชาชาติได้จัดการประชุมโลก การประชุมครั้งนี้เรียกว่า "การประชุมครั้งหนึ่งในโอกาสแห่งชั่วอายุคนเพื่อการตัดสินใจครั้งสำคัญในพื้นที่การพัฒนา ความมั่นคง สิทธิมนุษยชนและการปฏิรูปสหประชาชาติ"<ref>{{cite web|title=The 2005 World Summit: An Overview|url=http://www.un.org/ga/documents/overview2005summit.pdf|publisher=United Nations|format=PDF|78.0&nbsp;[[Kibibyte|KiB]]<!-- application/pdf, 79964 bytes -->}}</ref> โคฟี แอนนันได้เสนอให้ที่ประชุมได้ตกลง "ลดราคาครั้งใหญ่" ในการปฏิรูปองค์การสหประชาชาติ เพื่อปรับเปลี่ยนมุมมองขององค์การต่อสันติภาพ ความมั่นคง สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา และปรับปรุงรูปแบบเพื่อรองรับเหตุการณ์ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ผลของการประชุมได้ข้อสรุปเป็นการประนีประนอมของเหล่าผู้นำโลก<ref>{{cite web|title=2005 World Summit Outcome|publisher=United Nations|url=http://www.un.org/summit2005/presskit/fact_sheet.pdf|format=PDF|82.9&nbsp;Kibibyte|KiB<!-- application/pdf, 84923 bytes -->}}</ref> ซึ่งสรุปให้มีการก่อตั้งคณะกรรมการสร้างสันติภาพ เพื่อให้การช่วยเหลือประเทศที่อยู่ท่ามกลางความขัดแย้ง [[คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ]]และกองทุนประชาธิปไตย ซึ่งเป็นการต่อสู้อย่างชัดเจนต่อการก่อการร้าย "ในทุกรูปแบบและการกระทำ" และข้อตกลงที่จะมอบทรัพยากรให้แก่สำนักงานบิรหารตรวจสอบภายในเพิ่มขึ้น ให้เงินสนับสนุนอีกพันล้านให้แก่เป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ ยกเลิกคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติเนื่องจากทำภารกิจลุล่วงแล้ว และประชาคมโลกจะต้องมี "ความรับผิดชอบในการป้องกัน" ซึ่งเป็นหน้าที่ของรัฐบาลแห่งชาติที่จะคอยป้องกันพลเมืองของตนจากอาชญากรรมร้ายแรง
 
สำนักงานบริการตรวจสอบภายในได้มีการก่อตั้งขึ้นใหม่ด้วยขอบเขตและอำนาจที่ได้รับอย่างชัดเจน และจะได้รับทรัพยากรเพิ่มขึ้น นอกจากนั้น สมัชชาใหญ่ยังได้รับอำนาจการตรวจสอบเพิ่มขึ้น มีการก่อตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาการตรวจสอบอิสระ (IAAC) ในเดือนมิถุนายน [[ค.ศ. 2006]] คณะกรรมการชุดที่ห้าได้ออกมติร่างข้อเรียนปฏิบัติของคณะกรรมการดังกล่าว<ref>{{cite web| url=http://www.centerforunreform.org/node/226 |author=Irene Martinetti |title=Reforming Oversight and Governance of the UN Encounters Hurdles |date=1 December 2006}}</ref><ref>{{cite web| url=http://www.centerforunreform.org/node/31 |title=Oversight and Governance |publisher=Center for UN Reform Education}}</ref> สำนักงานหลักจรรยาได้ก่อตั้งขึ้นในปีเดียวกัน มีอำนาจรับผิดชอบในการบริหารการเปิดเผยทางการเงินและนโยบายการป้องกันผู้ให้ข้อมูล สำนักงานหลักจรรยาได้ดำเนินการร่วมกับ OIOS ในการวางแผนส่งเสริมนโยบายการป้องกันการฉ้อราษฎร์บังหลวง<ref>{{cite web| url=http://www.centerforunreform.org/node/32 |title=Ethics Office |publisher=Center for UN Reform Education}}</ref> สำนักเลขาธิการกำลังอยู่ระหว่างการทบทวนอำนาจที่ได้รับมอบของสหประชาชาติที่มีอายุมากกว่าห้าปี การทบทวนดังกล่าวมีขึ้นเพื่อกำจัดโครงการต่าง ๆ ที่ได้รับการพิจารณาแล้วว่าไม่จำเป็น โดยมีหัวข้อที่ต้องทบทวนกว่า 7,000 หัวข้อ และมีการโต้แย้งกันในเรื่องที่ว่าจะการกำหนดอำนาจที่ได้รับมอบขึ้นมาใหม่ จนถึงเดือนกันยายน [[ค.ศ. 2007]] ซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างดำเนินการอยู่<ref>{{cite web| url=http://www.centerforunreform.org/node/30 |title=Mandate Review |publisher=Center for UN Reform Education}}</ref>
เส้น 315 ⟶ 313:
== การโต้เถียงและคำวิจารณ์ ==
 
องค์การสหประชาชาติได้รับการโต้เถียงและคำวิจารณ์มาตั้งแต่กิจกรรมในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 ในช่วงต้นของการก่อตั้งสหประชาชาติ ได้มีการต่อต้านสหประชาชาติในสหรัฐอเมริกาโดยสมาคมจอห์น เบิรช์ ซึ่งเริ่มต้นการรณรงค์ "ดึงสหรัฐออกจากสหประชาชาติ" ซึ่งเริ่มต้นตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1959]] ซึ่งกล่าวหาว่านโยบายของสหประชาชาติ คือ การก่อตั้งรัฐบาลโลกเพียงหนึ่งเดียว หลังจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]สิ้นสุดลง [[คณะกรรมการว่าด้วยการปลดปล่อยแห่งชาติฝรั่งเศส]] ซึ่งได้รับการรับรองจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกาให้เป็นรัฐบาลฝรั่งเศสในภายหลัง ดังนั้น ในช่วงแรกฝรั่งเศสจึงถูกกีดกันออกจากการประชุมเพื่อที่จะก่อตั้งองค์การใหม่ขึ้น [[ชาร์ลส์ เดอ โกลล์]]ได้วิจารณ์สหประชาชาติว่า ''le machin'' ("ไอ้สวะ") และไม่เชื่อมั่นว่าพันธมิตรที่ร่วมกันรักษาความมั่นคงระหว่างประเทศจะช่วยธำรงรักษาสันติภาพไว้ได้ โดยเสนอว่าการทำสนธิสัญญาป้องกันระหว่างประเทศโดยตรงจะดีกว่า<ref>{{cite journal|last=Gerbet|first=Pierre |date=1995|title=Naissance des Nations Unies|journal=Espoir |issue=102|language=Frenchfr|url=http://www.charles-de-gaulle.org/pages/l-homme/dossiers-thematiques/1944-1946-la-liberation/restaurer-le-rang-de-la-france/analyses/naissance-des-nations-unies.php}}</ref> ในปี [[ค.ศ. 1967]] [[ริชาร์ด นิกสัน]] ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ได้วิจารณ์สหประชาชาติว่า "พ้นสมัยและไม่เพียงพอ" ต่อการจัดการปัญหาความขัดแย้งในสมัยนั้น อย่างเช่น [[สงครามเย็น]]<ref>[http://www.diplomatie.gouv.fr/fr/IMG/pdf/ONU_edward_keefer.pdf "The Nixon Administration and the United Nations: 'It's a Damned Debating Society'"], Dr. Edward C. Keefer (PDF)]</ref> จีน เคิร์กแพทริก ผู้เลือกให้[[โรนัลด์ เรแกน]]เป็นเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำสหประชาชาติ ได้เขียนความเห็นไว้ใน [[เดอะนิวยอร์กไทมส์]] เมื่อปี [[ค.ศ. 1983]] ว่ากระบวนการอภิปรายของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ "มีส่วนเหมือนคนโง่" ของสหรัฐอเมริกา "มากกว่าการโต้วาทีทางการเมืองหรือเพื่อการแก้ปัญหาใด ๆ"<ref>[http://books.google.com/books?id=1e13PNeB4DIC&pg=PA229&lpg=PA229&source=web&ots=zIav3cg8Wj&sig=9v58z35AQOSN_x23k_yqCzJkoTk#PPA229,M1 "UN Mugging Fails"], ''Legitimacy and Force'', Jeane J. Kirkpatrick, page 229</ref>
 
ในการปราศรัยเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ [[ค.ศ. 2003]] ก่อนหน้า[[สงครามอิรัก|การรุกรานอิรักของสหรัฐอเมริกา]]ไม่นานนัก นาย[[จอร์จ ดับเบิลยู. บุช]] กล่าวว่า "เหล่าประเทศเสรีจะไม่ปล่อยให้สหประชาชาติเลือนหายไปในประวัติศาสตร์ในฐานะของสมาคมโต้วาทีที่ไม่มีประสิทธิภาพและไม่ตรงประเด็น"<ref>[http://georgewbush-whitehouse.archives.gov/news/releases/2003/02/20030213-3.html " President Salutes Sailors at Naval Station Mayport in Jacksonville: Remarks by the President at Naval Station Mayport"], 13 February 2003</ref> ในปี [[ค.ศ. 2005]] เขาได้แต่งตั้งให้นายจอห์น อาร์. โบลตันเป็นเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำสหประชาชาติ ซึ่งเขาได้กล่าวในปี [[ค.ศ. 1994]] ว่า "ไม่มีอะไรในโลกนี้จะเป็นสหประชาชาติได้ เพราะมันเป็นเพียงแค่ประชาคมโลก ซึ่งสามารถนำได้โดยประเทศอภิมหาอำนาจที่เหลืออยู่ คือ สหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวเท่านั้น"<ref>{{cite news
| last = Watson
| first = Roland
| coauthors =
| title = Bush deploys hawk as new UN envoy
| worklanguage = en
| publisher = ''The Times''
| pages =
| date = [[2005-03-08]]
| language =
| publisher = ''The Times''
| date = [[2005-03-08]]
| url = http://www.timesonline.co.uk/article/0,,11069-1515816,00.html
| accessdate = 2006-08-15 }}</ref>
เส้น 333 ⟶ 328:
 
=== อคติในความขัดแย้งอาหรับ-อิสราเอล ===
 
ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ[[อิสราเอล]]และ[[ปาเลสไตน์]]ใน[[ความขัดแย้งอาหรับ-อิสราเอล]]ได้ทำให้สหประชาชาติสิ้นเปลืองเวลาโต้วาที ออกมติและทรัพยากรจำนวนมาก
 
เส้น 345 ⟶ 339:
 
=== โครงการน้ำมันแลกอาหาร ===
 
โครงการน้ำมันแลกอาหารถูกก่อตั้งโดยสหประชาชาติในปี [[ค.ศ. 1996]] เพื่อให้[[อิรัก]]ขาย[[น้ำมัน]]เพื่อแลกกับ[[อาหาร]] [[ยา]] และปัจจัยพื้นฐานให้แก่ชาวอิรักซึ่งได้รับผลกระทบจากการแซงชั่นทางเศรษฐกิจ เพื่อป้องกันไม่ให้รัฐบาลอิรักสร้างกำลังทหารขึ้นมาใหม่หลังจาก[[สงครามอ่าว]] อิรักได้ส่งน้ำมันสู่ตลาดโลกกว่า 65,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยในจำนวนนี้เป็นค่าใช้จ่ายทางด้านปัจจัยพื้นฐานเป็นจำนวน 46 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ภาษีเพิ่มเติมที่จ่ายเพื่อชำระค่าปฏิกรรมสงครามสงครามอ่าวผ่านทางกองทุนชดเชย โครงการปกครองของสหประชาชาติและค่าปฏิบัติการสำหรับโครงการ (2.2%) และโครงการตรวจตราอาวุธ (0.8%)
 
โครงการดังกล่าวถูกล้มเลิกในตอนปลายปี 2003 ท่ามกลางข้อครหาจากโทษและการฉ้อราษฎร์บังหลวง ผู้กำกับโครงการคนก่อน [[บีนอน ซีแวน]] ถูกระงับและลาออกจากสหประชาชาติ การทำรายงานสืบสวนโดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติได้สรุปว่าเซแวนรับเงินสินบนจากรัฐบาลอิรัก<ref>{{cite web|url= http://www.iic-offp.org/documents/Third%20Interim%20Report.pdf|title=Independent Inquiry Committee into the United Nations Oil-for-Food Programme|Publisherpublisher=United Nations|date=2005-08-08 <!-- application/pdf, 3848553 bytes -->|format=PDF}}</ref> [[โตโจ อันนัน]] ถูกกล่าวหาเช่นกันว่าผิดกฎหมายในการอนุมัติข้อตกลงน้ำมันแลกอาหารบนผลประโยชน์ของบริษัทสวิส โคเทคนา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอินเดีย [[เค. นัทวาร์ ซิงฮ์]] ถูกให้ออกจากตำแหน่งเพราะมีเรื่องอื้อฉาว และออสเตรเลียนวีทบอร์ดก็ฝ่าฝืนกฎหมายเนื่องจากทำข้อตกลงไว้กับอิรัก<ref>{{cite web|url= http://www.ag.gov.au/agd/WWW/unoilforfoodinquiry.nsf/Page/Report|title=Report of the Inquiry into certain Australian companies in relation to the UN Oil-for-Food Programme|publisher=Australian Government Attorney-General's Department|date=2006-11}}</ref>
 
=== ด้านอื่น ===
 
[[อัลบิน คูร์ติ]] นักเคลื่อนไหวจาก[[คอซอวอ]] ได้กล่าวหาองค์การสหประชาชาติ ผู้ปกครองคอซอวอมาตั้งแต่ [[ค.ศ. 1999]] เนื่องจากว่าตามกลั่นแกล้งและจับกุมเขาด้วยเหตุผลทางการเมือง การกล่าวหาของเขาได้รับการสนับสนุนจากองค์การสิทธิมนุษยชนสากล อย่างเช่น [[องค์กรนิรโทษกรรมสากล]]และ[[สหพันธ์เฮลซิงกิสากล]] ตามรายงานของอัมเนสตี ผู้พิพากษาที่ได้รับเลือกจากสหประชาชาติ "จวนเจียนจะถึงโจทก์หลังจากการฟัง - ในการขาดทั้งคูร์ติหรือนักกฎหมายที่ศาลมอบหมาย - เพื่อที่จะคลายความสงสัยที่ฝ่ายโจทก์จะแนะนำความสัมพันธ์ถึงการกักขังตัวเขาไว้"<ref>{{cite web |url=http://www.freealbinkurti.org/11_12_07%20AMNESTY%20Statement.pdf |format=PDF|title=Albin Kurti – a politically motivated prosecution? |location=Kosovo |publisher=Amnesty International |date=10 December 2007 |accessdate=2008-10-10}}</ref>