ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OraMAAG (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8261816 โดย OctraBot: ข้อมูลที่นำมาใส่ไม่สมเหตุสมผลด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน''' ในการแบ่งเขตภูมิอากาศ ภูมิอากาศลักษณะนี้ค่อนข้างพบได้น้อยบนโลก และได้รับการจัดแบ่งแทนด้วยตัวอักษร "Am" ในระบบ[[การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน]]
 
ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนมีอุณหภูมิเฉลี่ยมากกว่า 18 องศาเซลเซียสในทุก ๆ เดือน และมี[[ฤดูฝน]]และ[[ฤดูแล้ง]]เหมือน[[ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา]] เดือนที่แห้งแล้งที่สุดในภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อนนั้นมีปริมาณ[[หยาดน้ำฟ้า]]น้อยกว่า 60&nbsp;มิลลิเมตร ภูมิอากาศแบบนี้นั้นดูเหมือนจะมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในแต่ละช่วงของปีน้อยกว่า[[ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา]] ภูมิอากาศลักษณะนี้มีฤดูที่แล้งที่สุดอยู้ในช่วงวัน[[เหมายัน]]หรือหลังจากนั้น<ref>McKnight, Tom L; Hess, Darrel (2000). "Climate Zones and Types: The Köppen System". Physical Geography: A Landscape Appreciation. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. pg. 208. ISBN 0-13-020263-0</ref>
 
==แผนภูมิแสดงลักษณะภูมิอากาศ==