ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรูวิชั่นส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thanakrit1121999 (คุย | ส่วนร่วม)
ประวัติ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 20:
'''[[ยูบีซี]]''' เกิดจากการรวมกิจการ ของผู้ให้บริการ[[เคเบิลทีวี]] 2 รายใหญ่ในประเทศไทย คือ'''[[ไอบีซี]]''' และ'''[[ยูทีวี]]'''
=== ไอบีซี ===
* '''บริษัท [[ไอบีซี|อินเตอร์เนชันแนล บรอดคาสติง คอร์ปอเรชันส์]] จำกัด''' ('''ไอบีซี''') - เป็นบริษัทร่วมทุนระหว่าง [[ทักษิณ ชินวัตร|พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร]] ประธานกรรมการ และประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัท [[ชินวัตร คอมพิวเตอร์]] จำกัด กับ[[วิลเลียม ไลล์ มอนซัน]] นักธุรกิจ[[ชาวอเมริกัน]] ผู้บริหารบริษัท [[เคลียร์วิว ไวร์เลส]] จำกัด เข้ารับสัมปทานธุรกิจโทรทัศน์ ระบบบอกรับเป็นสมาชิกจาก [[องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย]] ([[อ.ส.ม.ท.]]) โดยให้บริการผ่านคลื่น, [[บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง]] ([[เอ็มเอ็มดีเอส]]) ผ่านระบบ[[ไมโครเวฟ]] และจานรับสัญญาณดาวเทียม เครือข่าย[[เคยู-แบนด์]] ทั้งระบบ[[แอนะล็อก]]และ[[ดิจิทัล]] โดยให้บริการทั่วประเทศ เริ่มตั้งแต่วันที่ [[17 เมษายน]] [[พ.ศ. 2532]] เป็นระยะเวลาสัมปทาน 3020 ปี โดยให้บริการทั่วประเทศ จนถึงวันที่ [[1617 เมษายน]] [[พ.ศ. 2562]]2552 แต่ก่อนหน้านั้น คู่สัญญาร่วมกันภายหลังได้ขยาย ระยะเวลาสัมปทานไปอีก 5 ปี จนถึงวันที่ [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2557]]
 
=== ยูทีวี ===
* '''บริษัท [[ยูทีวี|ยูนิเวอร์แซล เทเลวิชัน เคเบิล เน็ตเวิร์ก]] จำกัด''' ('''ยูทีวี''') - เป็นบริษัทในกลุ่ม[[เทเลคอมเอเชีย คอร์ปอเรชัน]] (ปัจจุบันคือ [[ทรู คอร์ปอเรชั่น|บมจ.ทรู คอร์ปอเรชัน]]) เข้ารับสัมปทานธุรกิจโทรทัศน์ ระบบบอกรับเป็นสมาชิกจาก [[อ.ส.ม.ท.]] โดยให้บริการผ่านสาย[[เคเบิลใยแก้วนำแสง]] และ[[โคแอกเชียล]] ทั้งระบบ[[แอนะล็อก]] และ[[ดิจิทัล]] โดยให้บริการเฉพาะในเขต[[กรุงเทพมหานคร]] และปริมณฑล ตั้งแต่วันที่ [[12 พฤศจิกายน]]|1 มกราคม [[พ.ศ. 25362538]] แล้วขยายระยะเวลาสัมปทานออกไปจนถึงวันที่ [[31 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2566|พ.ศ. 2562]] ระยะเวลาสัญญาสัมปทานรวม 25 ปี
 
=== การรวมกิจการเป็น[[ยูบีซี]] ===
บรรทัด 30:
โดยในราวเดือน [[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2541]] [[ไอบีซี]]เป็นฝ่ายซื้อกิจการ[[ยูทีวี]] โดยวิธีการแลกหุ้น และเปลี่ยนชื่อเป็น '''บริษัท [[ยูบีซี|ยูไนเต็ด บรอดคาสติง คอร์ปอเรชัน]] จำกัด''' ''' (ยูบีซี) ''' และออกอากาศด้วยชื่อยูบีซี อย่างเป็นทางการ ตั้งแต่วันพุธที่ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2541]] โดยในยุคแรก ออกอากาศผ่าน[[ดาวเทียม]][[ไทยคม (บริษัท)|ไทยคม 1]] (แต่ปัจจุบันใช้ดาวเทียม[[ไทยคม (บริษัท)|ไทยคม 5]]) แต่หลังจากนั้นไม่นาน กลุ่มชินวัตรก็ขายหุ้นยูบีซีทั้งหมด ให้กับ[[เครือเจริญโภคภัณฑ์]] บริษัทแม่ของ[[เทเลคอมเอเชีย คอร์ปอเรชัน|เทเลคอมเอเชีย]] ขณะเดียวกันก็ดำเนินการจดทะเบียน เข้าซื้อขายใน[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] โดยใช้ชื่อย่อว่า UBC
 
จากนั้นเมื่อปี [[พ.ศ. 2549]] กลุ่ม[[เอ็มไอเอช]] ซึ่งขณะนั้นเป็นผู้ถือ[[หุ้นรายใหญ่]] ขายหุ้นทั้งหมดให้กับกลุ่มทรู คอร์ปอเรชัน รวมเป็นหุ้นร้อยละ 98 ทำให้กลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ [[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] จึงยุติการซื้อขายหลักทรัพย์ของ[[ยูบีซี]] โดยกลุ่มทรูฯ ประกาศซื้อหุ้น[[ยูบีซี]] จากผู้ถือหุ้นรายย่อย เมื่อวันที่ [[9 มกราคม]] แล้วจึงเปลี่ยนชื่อเป็น '''บริษัท ยูบีซี-ทรู จำกัด (มหาชน)''' รวมถึง[[เครื่องหมายการค้า]]ใหม่คือ '''[[ยูบีซี-ทรู]]''' ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2549 ต่อมาในวันที่ [[23 มกราคม]] [[พ.ศ. 2550]] ยูบีซีเปลี่ยนแปลงชื่อบริษัทเป็น '''บริษัท ทรูวิชั่นส์-ยูบีซี จำกัด (มหาชน)''' รวมถึงเครื่องหมายการค้าใหม่คือ '''[[ทรูวิชั่นส์-ยูบีซี]]''' ต่อมาลดลงเหลือเพียง '''บริษัท ทรูวิชั่นส์ จำกัด (มหาชน)''' ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2552]] จนถึงปัจจุบัน ตามยุทธศาสตร์หลอมรวม (Convergence) ธุรกิจในกลุ่มทรูฯ ต่อมาได้เพิ่มชื่อเป็น '''บริษัท ทรูวิชั่นส์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)''' ตั้งแต่เดือน [[กันยายน]] [[พ.ศ. 2556]] ซึ่งเข้ารับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศน์บอกรับสมาชิก ประเภทไม่ใช้คลื่นความถี่ จากสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
 
=== ผู้นำด้านโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิกในประเทศไทย ===
บรรทัด 56:
 
=== การแก้ปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ ===
ในช่วงเวลาที่ผ่านมา ทรูวิชั่นส์ไม่สามารถแก้ไขปัญหาลิขสิทธิ์ มานาน 23 ปี หรือการแอบลักลอบรับชมรายการของทรูวิชันส์ผ่านกล่องรับสัญญาณดาวเทียมที่ไม่ได้มาจากทรูวิชันส์ (เช่น กล่องดรีมบ็อกซ์) ที่เป็นปัญหาเรื้อรังมาตั้งแต่ตอนที่ยังเป็น ยูบีซีได้ จนกระทั่งในที่สุด ทรูวิชันส์ได้ตัดสินใจเพิ่มมาตรการในการควบคุมระบบการออกอากาศใหม่ทั้งหมด โดยเปลี่ยนระบบการส่งสัญญาณภาพจากเดิมที่เป็น MPEG-2 มาเป็น MPEG4 แบบเข้ารหัส ในคืนวันที่ 15 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อสมาชิกในกลุ่มแพลตตินั่ม เอชดี โกล์ดโกลด์ โกล์ดไลท์โกลด์ไลท์ และซิลเวอร์ โดยตรง โดยผู้ใช้ในกลุ่มนี้จะต้องมีการแจ้งขอเปลี่ยนกล่องรับสัญญาณภาพมาเป็นรูปแบบใหม่ หรือ TrueVisions HD Plus เพื่อที่จะสามารถรับชมช่องรายการได้ครบตามปกติโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายจากเดิมที่ต้องเสียค่าเปลี่ยนอุปกรณ์ 1,000 บาท ส่วนผู้ใช้ในกลุ่มทรูโนว์เลดจ์ ทรูไลฟ์ ฟรีวิว และทรูไลฟ์ ฟรีทูแอร์ ยังคงสามารถรับชมช่องรายการได้ตามปกติ โดยไม่ต้องแจ้งขอเปลี่ยนกล่องสัญญาณ (ปัจจุบันยุติออกอากาศในระบบ MPEG-2 แล้ว)
 
=== การอัพเกรดซอฟแวร์เวอร์ชัน ===