ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563–2564"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2001:FB1:111:7898:3CD0:D37E:609C:79BA (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Horus
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 144:
| sidebox =
|latitude=|longitude=}}
'''การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563''' เป็นการประท้วงที่กำลังดำเนินอยู่ต่อรัฐบาลนายกรัฐมนตรีและอดีตหัวหน้า[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] พลเอก [[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]] แรกเริ่มเกิดจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้ยุบ[[พรรคอนาคตใหม่]]ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 การประท้วงเกิดขึ้นในพื้นที่สถานศึกษาทั้งหมด และหยุดไปช่วงหนึ่งเนื่องจาก[[การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศไทย พ.ศ. 2563|การระบาดทั่วของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย]] และมีการออกคำสั่งปิดสถานศึกษาเพื่อควบคุมโรค
 
การประท้วงกลับมาอุบัติขึ้นอีกครั้งในวันที่ 18 กรกฎาคม ในรูปแบบการเดินขบวนซึ่งจัดระเบียบภายใต้กลุ่ม "เยาวชนปลดแอก" ในพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]] มีผู้เข้าร่วมประมาณ 2,500 คน นับเป็นการชุมนุมใหญ่สุดในรอบ 6 ปี มีการยื่นข้อเรียกร้อง 3 ประการต่อรัฐบาล ได้แก่ ให้ยุบ[[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25|สภาผู้แทนราษฎร]] หยุดคุกคามประชาชน และร่าง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย|รัฐธรรมนูญ]]ฉบับใหม่ การประท้วงในเดือนกรกฎาคมนั้นเกิดจากผลกระทบทางเศรษฐกิจของโควิด-19 และการบังคับใช้[[พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548]] (พ.ร.ก.ฉุกเฉิน) โดยแฝงเจตนายับยั้งการชุมนุมทางการเมือง นับแต่นั้นทำให้ต่อมาการประท้วงได้ลามไปอย่างน้อย 44 จังหวัดทั่วประเทศ และมีการประท้วงแทบทุกวัน จนวันที่ 3 สิงหาคม กลุ่มผู้ประท้วงจัดปราศรัยเกี่ยวกับประเด็นพระราชอำนาจและเพิ่มข้อเรียกร้องในการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ นำไปสู่การจับกุมตัวผู้ประท้วง 2 คน เหตุการณ์นี้ทำให้สื่อเรียกว่า "ขยายเพดาน"
 
หลังเหตุการณ์ดังกล่าว ประเด็นพระราชอำนาจดูเหมือนเข้ามารวมอยู่ในเป้าหมายการประท้วงด้วย กลุ่มประชาชนที่สนับสนุนรัฐบาลจัดการชุมนุมตอบโต้ โดยกล่าวหาผู้ประท้วงว่าถูกยุยงปลุกปั่นมีเจตนาแฝงล้มสถาบันพระมหากษัตริย์ ส่วนนักวิชาการจำนวนหนึ่งและ[[พรรคก้าวไกล]]ออกแถลงการณ์สนับสนุนสิทธิในการเรียกร้องของผู้ประท้วง
บรรทัด 162:
 
=== สาเหตุพื้นเดิม ===
ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระราชอำนาจเพิ่มขึ้นกว่าพระราชอำนาจตามประเพณีที่ทรงอำนาจอยู่แล้วนับแต่รัชกาลก่อน พระองค์ทรงมีความเห็นในรัฐธรรมนูญ และนำไปสู่การแก้ไขพระราชอำนาจร่างรัฐธรรมนูญทั้งที่ผู้ออกเสียงลงคะแนนรับร่างรัฐธรรมนูญนั้นแล้ว<ref>{{Cite news|date=2017-01-13|title=Thai parliament approves king's constitutional changes request, likely delaying elections|language=en|work=Reuters|url=https://www.reuters.com/article/us-thailand-king-constitution-idUSKBN14X0IF|access-date=2020-08-23}}</ref> ในปี พ.ศ. 2561 มีการแก้ไขให้พระองค์เป็นเจ้าของทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งตามกฎหมายถือว่าเป็นของสาธารณะ วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 คณะรัฐมนตรีชุดใหม่สาบานตนเข้ารับตำแหน่ง โดยสมาชิกคณะรัฐมนตรีนั้นกล่าวสวามิภักดิ์ต่อพระมหากษัตริย์ แต่ไม่ได้กล่าวถึงรัฐธรรมนูญ ถือว่าเป็นการละเมิดการสาบานก่อนเข้ารับตำแหน่งโดยไม่ยอมกล่าวแก้ไข<ref name=":0" /> ในปี พ.ศ. 2563 รัฐบาลโอนหน่วยทหาร 2 หน่วยให้เป็นส่วนราชการในพระองค์ ซึ่งดูเหมือนว่ากระทำในพระปรมาภิไธย<ref>{{Cite web|date=2017-05-02|title=Thai king takes control of five palace agencies|url=https://www.businesstimes.com.sg/government-economy/thai-king-takes-control-of-five-palace-agencies|access-date=2020-08-23|website=The Business Times|language=en}}</ref> ในช่วงเดียวกัน พระองค์ยังถูกกล่าวหาว่าพยายามลบประวัติศาสตร์ โดยมีการทำลายอนุสรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ[[คณะราษฎร]]และ[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]]<ref name=":0" />
 
การใช้บังคับ[[ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย|กฎหมายความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทย]]เป็นหัวข้อถกเถียงมาตั้งแต่รัชกาลก่อน จำนวนคดีได้เพิ่มสูงสุดหลังรัฐประหารปี พ.ศ. 2557<ref name="2014highest">[http://prachatai.com/english/node/4218 2014 coup marks the highest number of lèse-majesté prisoners in Thai history]. ''Prachatai''.</ref> นักวิจารณ์มองว่ากฎหมายนี้เป็นอาวุธทางการเมืองที่ใช้ปราบปรามผู้เห็นต่าง และจำกัดเสรีภาพในการพูด แม้ไม่มีคดีใหม่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 ซึ่งประยุทธ์กล่าวว่าทรงเป็นพระราชประสงค์ แต่ก็มีการใช้กฎหมายความมั่นคงอื่นแทน เช่น กฎหมาย[[การปลุกปั่นให้ขัดขืนอำนาจปกครอง]] (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 116), [[พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550]] หรือความผิดฐานอั้งยี่ ซึ่งทั้งหมดล้วนมีโทษร้ายแรงพอ ๆ กับความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 การบังคับสูญหายของ[[วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์]] ซึ่งสันนิษฐานว่าเกี่ยวข้องกับข้อกล่าวหาความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ในประเทศกัมพูชา ได้รับความสนใจและเห็นใจในโลกออนไลน์<ref>{{Cite news|last=Wright|first=George|last2=Praithongyaem|first2=Issariya|date=2020-07-02|title=The satirist who vanished in broad daylight|language=en-GB|work=BBC News|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-53212932|access-date=2020-08-23}}</ref>
บรรทัด 183:
การรณรงค์ให้หยุดก่อม็อบลงถนนหลังกรณี[[พรรคอนาคตใหม่#ยุบพรรค|ศาลรัฐธรรมนูญตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่]]เพราะกลัวให้เป็นข้ออ้างในการปราบปราม​สังหารประชาชนหรือการรัฐประหารซ้อน​<ref>[https://prachatai.com/journal/2020/03/86815 ถอดรหัส​แฮชแท็ก​ #เว้นเซเว่นทุก​Wednesday และ #pausemob] prachatai.17 มีนาคม 2563. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2563</ref> การติด[[แฮชแท็ก]]ใน[[ทวิตเตอร์]]เริ่มเป็นที่นิยมในชื่อ save เพื่อให้มีการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนจากรัฐ เช่น #saveวันเฉลิม ([[วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์]] ผู้ลี้ภัยในประเทศกัมพูชา)<ref>[https://prachatai.com/journal/2020/06/88215 #saveโรม ขึ้นอันดับ 1 เทรนด์ทวิตเตอร์ หลังเดินหน้าตามปม 'วันเฉลิม-หมู่อาร์ม'] prachatai.2020-06-19 สืบค้นเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2563</ref>, #saveทิวากร ผู้สวมเสื้อ ''เราหมดศรัทธา​สถาบันกษัตริย์​แล้ว''​<ref>[https://prachatai.com/journal/2020/07/88573 #saveทิวากร ติดเทรนด์ทวิตเตอร์ หลังมีข่าวผู้สวมเสื้อ 'เราหมดศรัทธาสถาบันกษัตริย์แล้ว' ถูกจับเข้าจิตเวช] prachatai.2020-07-14 สืบค้นเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2563</ref>
 
[[สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล]] นักวิชาการประวัติศาสตร์และผู้ลี้ภัยทางการเมือง ทวีตตั้งคำถามเกี่ยวกับรัชกาลที่ 10 พร้อมใส่แฮชแท็กดังกล่าว จนนำไปสู่การที่กลุ่มเยาวชนกล้าพูดในเรื่องที่สุ่มเสี่ยงที่สุด คือ #กษัตริย์มีไว้ทำไม<ref>[https://prachatai.com/journal/2020/03/86933 ส่องปรากฏการณ์ #กษัตริย์มีไว้ทำไม กับ 'แอคหลุม-มีม' เซฟโซนสีเทาของคนรุ่นใหม่] prachatai.2020-03-26 สืบค้นเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2563</ref> เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ผู้ใช้ทวิตเตอร์ "นิรนาม_"ถูกจับกุมที่ทวิตภาพและข้อความเกี่ยวกับรัชกาลที่ 10 และถูกฝากขังที่ศาลพัทยา และไม่ได้รับการอนุญาตให้ประกันตัว โดยใช้การตรวจสอบการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตจากบริษัท[[ทรู คอร์ปอเรชั่น|ทรู]]<ref>[https://www.bbc.com/thai/thailand-51577352 ตร.พัทยา อ้าง พ.ร.บ.คอมฯ จับผู้ใช้ทวิตเตอร์บัญชี "นิรนาม_"] 20 กุมภาพันธ์ 2563.สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2563</ref>
 
ต่อมาในวันที่ 24 เมษายน [[สหภาพนักเรียน นิสิต นักศึกษาแห่งประเทศไทย]] ได้โพสต์ภาพพร้อมข้อความ ระบุว่า สนท. ขอเชิญชวนชาวไทยทุกคนร่วมประท้วงออนไลน์ โดยการถ่ายรูปถือป้ายแสดงความรู้สึกต่อรัฐบาลพร้อมติด #MobFromHome "โควิดหายมาไล่รัฐบาลกันไหม?"<ref>{{Cite web|url=https://www.brighttv.co.th/news/social/mob-from-home|title=สนท. ชวนประท้วงรัฐบาลผ่านออนไลน์ พร้อมติด #MobFromHome|author=Bright Today|website=www.brighttv.co.th|date=25 เมษายน 2563|accessdate=28 สิงหาคม 2563}}</ref> ส่งผลให้ในวันต่อมา (25 เมษายน) #MobFromHome พุ่งติดเทรนด์ยอดนิยมอันดับ 1 ในทวิตเตอร์ประเทศไทย โดยมีผู้ใช้ทวิตเตอร์แต่ละบัญชีต่างออกมาระบายความอัดอั้นตันใจที่มีต่อรัฐบาลของพลเอกประยุทธ์<ref>{{Cite web|url=https://covid-19.kapook.com/view224969.html|title=โซเชียลไทยเดือด ผุด #MobFromHome ประท้วงรัฐบาล พุ่งเทรนด์อันดับ 1 ทวิตเตอร์|author=[[กระปุก.คอม]]|website=kapook.com|date=25 เมษายน 2563|accessdate=28 สิงหาคม 2563}}</ref>

และวันที่ 27 เมษายน [[สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ]] ผู้อำนวยการ[[โรงพยาบาลจะนะ]] [[จังหวัดสงขลา]] ได้ออกมาโพสต์เฟซบุ๊กส่วนตัวร่วม #MobFromHome ด้วย และได้เปิดตัวแฮชแท็กใหม่อีกคือ #NoCPTPP เนื่องจากในวันถัดมา (28 เมษายน) [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 62|คณะรัฐมนตรี]]ฝ่าย[[เศรษฐกิจ]] นำโดย[[จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์]] [[รองนายกรัฐมนตรีไทย|รองนายกรัฐมนตรี]]และ[[รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย|รัฐมนตรีว่าการ]][[กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)|กระทรวงพาณิชย์]] จะมีการเสนอให้ประเทศไทยเข้าร่วม[[ข้อตกลงความครอบคลุมและความก้าวหน้าเพื่อหุ้นส่วนทางการค้าภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก]] หรือ CPTPP ซึ่งจากข้อตกลงนี้มีกฎหมายข้างเคียงที่จะทำให้ไทยถูกเอาเปรียบทางด้านการเกษตรและด้านการแพทย์อย่างมาก เช่น ต่างชาติสามารถผูกขาดเมล็ดพันธุ์พืชได้ ยามีราคาแพงขึ้น สิทธิบัตรยาถูกผูกขาดมากขึ้น ทำให้ไทยมีความมั่นคงทางอาหารและยาลดลง<ref>{{Cite web|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_2159166|title=หมอสุภัทรชวนติดแฮชแท็กต้าน CPTPP ร่วม Mob from Home นวัตกรรมประชาธิปไตยในยุคโควิด -19|author=[[มติชน]]|website=www.matichon.co.th|date=27 เมษายน 2563|accessdate=28 สิงหาคม 2563}}</ref> และ [[ตุล ไวฑูรเกียรติ]] นักร้องนำวง[[อพาร์ตเมนต์คุณป้า]] ก็ได้ออกมาร่วมรณรงค์ให้คัดค้าน CPTPP ด้วย จนทำให้แฮชแท็ก #NoCPTPP ก็ติดอันดับ 1 ในทวิตเตอร์<ref>{{Cite web|url=https://www.sanook.com/music/2419161/|title="ตุล อพาร์ตเมนต์คุณป้า" ชวนชุมนุมออนไลน์ต้าน "CPTPP" หลังกลายเป็นประเด็นร้อน|author=[[สนุก.คอม]]|website=www.sanook.com|date=27 เมษายน 2563|accessdate=13 กันยายน 2563}}</ref> จนกระทั่งจุรินทร์ต้องสั่งถอนวาระเรื่อง CPTPP ออกจากวาระการประชุมคณะรัฐมนตรีทันทีในวันนั้นเอง<ref>{{Cite web|url=https://www.sanook.com/news/8104254/|title=กระทรวงพาณิชย์ยอมถอย CPTPP ถอดพ้นวาระประชุมคณะรัฐมนตรี|author=[[สนุก.คอม]]|website=www.sanook.com|date=27 เมษายน 2563|accessdate=13 กันยายน 2563}}</ref>
 
== การประท้วงระยะที่สอง (เดือนกรกฎาคม–ปัจจุบัน) ==
เส้น 214 ⟶ 216:
 
=== ยกระดับการชุมนุม ===
วันที่ 1 สิงหาคม กลุ่มเยาวชนปลดแอกพบว่า ผ่านไป 2 สัปดาห์ รัฐบาลไม่ตอบสนองแก่ข้อเรียกร้อง 3 ประการที่เรียกร้องไป ซ้ำยังพบการคุกคามประชาชนมากกว่าเดิมอีก จึงได้โพสต์เฟซบุ๊กประกาศยกระดับการชุมนุม โดยตั้งกลุ่มการเมืองใหม่ในชื่อ "คณะประชาชนปลดแอก" และได้เชิญชวนประชาชนทุกเพศ ทุกวัย มาร่วมมือกับเยาวชนเพื่อขับไล่รัฐบาลชุดนี้ด้วย โดยได้นัดหมายการชุมนุมอีกครั้งในอีกวันที่ 216 สัปดาห์ถัดไปสิงหาคม<ref>{{Cite web|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_2289636|title=เปิดตัว ‘คณะประชาชนปลดแอก’ ลั่น เยาวชนไม่อาจสู้ลำพัง เล็งนัดหมายเร็ว ๆ นี้|author=[[มติชน]]|website=www.matichon.co.th|date=1 สิงหาคม 2563|accessdate=3 สิงหาคม 2563}}</ref>{{ external media
| video1 = [https://www.youtube.com/watch?time_continue=1&v=RTKhyJFTvtQ&feature=emb_logo คำปราศรัยเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ของอานนท์ นำภา], {{nowrap|วิดีโอ}}ยูทูบ
}}
เส้น 245 ⟶ 247:
วันที่ 14 สิงหาคม บีบีซีรายงานว่ามีการจัดประท้วงแนวร่วมเยาวชนปลดแอกใน 49 จังหวัด และประชาชนปกป้องสถาบันฯ 11 จังหวัด<ref>{{cite news |title=สำรวจแนวการชุมนุมประชาชนหนุน-ต้านรัฐบาล |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-53774835 |accessdate=18 August 2020 |work=BBC ไทย |language=th}}</ref>
 
วันที่ 16 สิงหาคม คณะประชาชนปลดแอกซึ่งยกระดับจากกลุ่มเยาวชนปลดแอก<ref name=":0" /> จัดการชุมนุม "ขีดเส้นตายไล่เผด็จการ" ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย สำนักข่าวนิกเกอิเอเชียนรีวิวรายงานอ้างตำรวจภาคสนามว่ามีผู้เข้าร่วมอย่างน้อย 20,000 คน<ref name="nikkei">{{cite news |title=Thailand's youth demo evolves to largest protest since 2014 coup |url=https://asia.nikkei.com/Politics/Turbulent-Thailand/Thailand-s-youth-demo-evolves-to-largest-protest-since-2014-coup |accessdate=18 August 2020 |work=Nikkei Asian Review}}</ref><!--<ref>{{cite news |title=Massive student-led protest calls on govt to quit |url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/1969211/massive-student-led-protest-calls-on-govt-to-quit |accessdate=17 August 2020 |work=Bangkok Post}}</ref>--> โดยผู้ชุมนุมย้ำข้อเรียกร้อง 3 ข้อเดิม และเพิ่ม 2 จุดยืน ได้แก่ ไม่เอา[[รัฐบาลแห่งชาติ]]และ[[รัฐประหาร]] รวมถึง 1 ความฝัน คือ ระบอบประชาธิปไตยที่มี[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ|พระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ]]" กลุ่มยังยื่นคำขาดว่า ภายในเดือนกันยายน จะต้องยกเลิก[[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 12|วุฒิสภาชุดปัจจุบัน]] ซึ่งคณะประชาชนปลดแอกมองว่าเป็นกลไกสืบทอดอำนาจของ[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]]ให้ได้<ref name=":0">{{cite news|title="ประชาชนปลดแอก" ประกาศจะไม่หยุดเคลื่อนไหวจนกว่า "อำนาจมืด" จะหมดไป|url=https://www.bbc.com/thai/thailand-53797329|accessdate=16 สิงหาคม 2563|work=BBC ไทย|date=16 สิงหาคม 2563}}</ref> นอกจากนี้ในวันเดียวกัน มีการชุมนุมสนับสนุนในต่างประเทศ คือ ในกรุง[[ไทเป]] [[ประเทศไต้หวัน]] ซึ่งมีชาวไต้หวัน ชาวฮ่องกงและชาวสิงคโปร์เข้าร่วมด้วยจำนวนหนึ่ง<ref>{{cite news |title=ชาวไทย-ไต้หวัน-ฮ่องกง จัดชุมนุม #ไทเปจะไม่ทน จี้ รัฐบาลไทย หยุดคุกคามประชาชน |url=https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_2309850 |accessdate=16 August 2020 |work=มติชนออนไลน์ |date=16 August 2020}}</ref> มีนักเรียนหลายโรงเรียนร่วมประท้วงด้วย ใช้แฮชแท็ก #โรงเรียนหน้าเขาไม่เอาเผด็จการ มีการกล่าวถึง 4 แสนครั้ง แต่มีโพสต์จากโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ว่าครูตราหน้านักเรียนว่าโง่และถูกพรรคการเมืองหลอก<ref>{{cite news |title=โรงเรียนทั่วประเทศเดือด ชูสามนิ้ว-ผูกโบว์ขาว ไม่เอาเผด็จการ |url=https://www.prachachat.net/social-media-viral/news-506804 |accessdate=17 August 2020 |work=ประชาชาติธุรกิจ |date=17 August 2020 }}</ref> รวมทั้งมีกรณีปัดโทรศัพท์เคลื่อนที่ของนักเรียนเสียหาย<ref>{{cite news |title=ครูขอโทษแล้ว หลังคลิปว่อนด่าปัญญาอ่อน ตบมือถือ นร.วอนเคารพความคิด |url=https://www.khaosod.co.th/politics/news_4723021 |accessdate=17 August 2020 |work=ข่าวสด |date=17 August 2020 |language=th}}</ref>
 
วันที่ 18 สิงหาคม กลุ่ม "นักเรียนเลว" จัดการประท้วงเป่านกหวีดที่กระทรวงศึกษาธิการเพื่อขับ[[ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีต กปปส.<ref>{{cite news |title=เอาแล้ว! กลุ่มนักเรียนเลว นัดเป่านกหวีดไล่ รมว.ศึกษา ลั่นต้องปกป้องอนาคต |url=https://www.khaosod.co.th/politics/news_4730658 |accessdate=19 August 2020 |work=ข่าวสด |date=18 August 2020 |language=th}}</ref>
 
วันที่ 30 สิงหาคม มีกลุ่ม "ไทยภักดี" ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้สูงวัยประมาณ 1,000–1,200 คนชุมนุมใน[[ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)|สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง]] จัดโดยนักการเมืองจาก[[พรรคประชาธิปัตย์]] [[วรงค์ เดชกิจวิกรม]] ในพื้นที่ใกล้เคียงเกิดเหตุทำร้าย่ร่างกายภารโรงสูงอายุคนหนึ่งที่ใส่เสื้อแดง<ref>{{Cite web|last=|first=|date=|title=Royalists rally to support monarchy|url=https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/1977039/royalists-rally-to-support-monarchy|url-status=live|archive-url=|archive-date=|access-date=2020-08-30|website=Bangkok Post}}</ref><ref>{{Cite web|last=English|first=Khaosod|date=2020-08-31|title=Royalists Slam 'Foreign Interference' in Major Counter-Rally|url=https://www.khaosodenglish.com/politics/2020/08/31/royalists-slam-foreign-interference-in-major-counter-rally/|access-date=2020-08-31|website=Khaosod English|language=en-US}}</ref>
 
วันที่ 9 กันยายน แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุมได้แถลงรายละเอียดหน้าตึกโดม [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ท่าพระจันทร์ เกี่ยวกับการชุมนุมใหญ่ในวันที่ 19 กันยายน ซึ่งเป็นวันครบรอบ 14 ปี ของการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549]] ซึ่งจะเป็นการชุมนุมปักหลักค้างคืน<ref>{{Cite web|url=https://www.matichon.co.th/politics/news_2341128|title=รุ้ง-เพนกวิน ประกาศค้างคืน มธ.ท่าพระจันทร์ 19 ก.ย. เช้าเดินขบวนสู่ทำเนียบรัฐบาล|author=[[มติชน]]|website=www.matichon.co.th|date=9 กันยายน 2563|accessdate=13 กันยายน 2563}}</ref>
 
== การตอบสนอง ==
เส้น 302 ⟶ 306:
 
== การรายงานของสื่อ ==
วันที่ 17 สิงหาคม [[เนชั่นทีวี]]ลงข่าวยอมรับว่ามีผู้สื่อข่าวของตนปกปิดสังกัดและแอบอ้างว่ามาจากช่องอื่นจริง และกองบรรณาธิการเรียกตักเตือนแล้ว แต่ก็อ้างว่าที่นักข่าวกระทำเช่นนั้นเพราะกลัวเกิดอันตรายจากผู้ชุมนุม<ref>{{cite news |title=แจงปมผู้สื่อข่าวหญิงปกปิดต้นสังกัดรายงานข่าวม็อบ |url=https://www.nationtv.tv/main/content/378790722/ |accessdate=17 August 2020 |work=เนชั่นทีวี |date=17 August 2020}}</ref> ต่อมาจึงเกิด[[การดำเนินกิจกรรมของผู้บริโภค]]ชื่อ #แบนสปอนเซอร์เนชั่น เพื่อให้เนชั่นเปลี่ยนแปลงวิธีการนำเสนอข่าว แต่เนชั่นออกแถลงการณ์อ้างว่าจะทำให้บริษัทเหล่านั้นเสียหาย ทั้งที่ไม่เกี่ยวกับการนำเสนอของเนชั่น<ref>{{cite news |title=จากใจเนชั่น ขอยืนหยัดทำข่าวบนพื้นฐานจริยธรรม วอนหยุดแบนสินค้า |url=https://www.komchadluek.net/news/regional/440732 |accessdate=22 August 2020 |work=คมชัดลึกออนไลน์ |date=19 August 2020 |language=th}}</ref>
 
== หมายเหตุ ==