ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Hokey176 (คุย | ส่วนร่วม)
Hokey176 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 102:
เส้นทางส่วนนี้เป็นเส้นทางใต้ดินทั้งหมด เริ่มต้นจากจุดเชื่อมต่อกับ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]]ที่[[สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย]] จากนั้นวิ่งตามแนว[[ถนนวัฒนธรรม]] ออกสู่[[ถนนพระราม 9]] ที่บริเวณหน้าที่ทำการของ[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออก ผ่านแยกพระราม 9 - ประดิษฐ์มนูธรรม แล้วเข้าสู่[[ถนนรามคำแหง]] บริเวณแยกรามคำแหง ผ่าน[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]], [[ราชมังคลากีฬาสถาน]] ไปสิ้นสุดเส้นทางที่[[แยกลำสาลี]]ในย่าน[[เขตบางกะปิ|บางกะปิ]] ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับ[[รถไฟฟ้าสายสีเหลือง]] (ลาดพร้าว - สำโรง) รวมระยะทางทั้งสิ้น 9 กิโลเมตร<ref>[http://www.dailynews.co.th/thailand/166583 ทำรถไฟฟ้าบางขุนนนท์-มีนบุรี เวนคืนอื้องบพุ่ง ถึง1.78แสนล้าน]</ref><ref>[http://www.mrta-orangeline.net/contentimage/pagea45.jpg แผนที่เส้นทาง โครงการรถไฟฟ้าสายสีส้ม (ฉบับใหม่)]</ref>
 
==== ช่วงที่ 2 : บางกะปิ - มีนบุรี ====
เป็นเส้นทางที่เกิดขึ้นครั้งแรกในแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 โดยเป็นส่วนต่อขยายของเส้นทางบางกะปิ - ราษฎร์บูรณะของสายสีส้มเดิม แต่ได้แยกออกมาเป็นรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล<ref>[http://www.fs-yellow-brown-pink.com/brown.htm โครงการระบบขนส่งมวลชนสายสีน้ำตาล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)]</ref> เมื่อปี พ.ศ. 2548 และมีการปรับแผนแม่บทฯ รวมเอาเส้นทางสายสีน้ำตาลกลับเข้ามาเป็นสายสีส้มอีกครั้งในปี พ.ศ. 2552
 
บรรทัด 116:
! มูลค่า <br> (ล้านบาท)
! ผู้ชนะการประมูล
! ความคืบหน้า <br> <small> (ภาพรวม 67'''.84''' % เร็วกว่าแผน 2.74 %<br>ณ สิ้นเดือน สิงหาคม 2563</small><ref>https://www.facebookmrta.com/MRTAco.PRth/photosth/pcb.2602564429960275projectelectrictrain/construction_progress_report/2602563769960341</ref><small>) </small>
|-
| 1 || งานออกแบบควบคู่การก่อสร้างโครงสร้างส่วนใต้ดิน ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ-รามคำแหง 12<br>ระยะทาง {{km to mi|6.29|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}} || 20,698 || rowspan="2" | กิจการร่วมค้าซีเคเอสที<br>{{small|(บมจ. ช.การช่าง และ บมจ.ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น)}} || 78.15 %
|-
| 2 || งานออกแบบควบคู่การก่อสร้างโครงสร้างส่วนใต้ดิน ช่วงรามคำแหง 12-รามคำแหง 34 <br>ระยะทาง {{km to mi|3.4|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}} || 21,572 || 63.58 %
|-
| 3 || งานออกแบบควบคู่การก่อสร้างโครงสร้างส่วนใต้ดิน ช่วงรามคำแหง 34-คลองบ้านม้า <br>ระยะทาง {{km to mi|4.04|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}} || 18,589.66 || บมจ. อิตาเลียนไทย ดีเวลลอปเม้นท์ || 66.30 %
|-
| 4 || งานก่อสร้างโครงสร้างยกระดับ ช่วงคลองบ้านม้า-แยกร่มเกล้า <br>ระยะทาง {{km to mi|8.8|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}} || 9,999 || บมจ. ยูนิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชัน || 58.25 %
|-
| 5 || งานก่อสร้างศูนย์ซ่อมบำรุง และอาคารจอดแล้วจร || 4,901 ||กิจการร่วมค้าซีเคเอสที<br>{{small|(บมจ. ช.การช่าง และ บมจ.ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น)}} || 68.94 %
|-
| 6 || งานวางระบบราง || 3,750 || บมจ. ยูนิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชัน || 67.28 %
|-
| 7 || งานระบบรถไฟฟ้า (ตลิ่งชัน-สุวินทวงศ์) || colspan="3" | คณะกรรมการ รฟม. มีมติให้รวมงานเดินรถเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาการก่อสร้างของโครงการส่วนตะวันตก
บรรทัด 315:
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR25'''|| [[สถานีราษฎร์พัฒนา|ราษฎร์พัฒนา]] || Rat Phatthana || 29+500 ||
|-
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR26'''|| [[สถานีวัดบางเพ็ง|วัดบางเพ็งมีนพัฒนา]] || WatMin Bang PhengPhatthana || 30+640 || || rowspan = "3" | มีนบุรี || rowspan = "4" | [[เขตมีนบุรี|มีนบุรี]]
|-
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR27'''|| [[สถานีเคหะรามคำแหง|เคหะรามคำแหง]] || Kheha Ramkhamhaeng || 32+140 ||