ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{มุมมองสากล}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Asian Financial Crisis EN-2009-05-05.png|thumb|ประเทศที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540]]
 
เส้น 59 ⟶ 60:
{{col-end}}
=== ต่างประเทศ ===
 
# สัดส่วนระหว่างหนี้ต่างประเทศ กับ GDP เพิ่มสูงขึ้นมาก เช่น ประเทศในอาเซียนเพิ่มจาก 100% กลายเป็น 180% ในช่วงที่เลวร้ายที่สุดของวิกฤติการณ์
# กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) เข้ามารักษาเสถียรภาพสกุลเงินของ ประเทศอินโดนีเซีย ไทย และเกาหลีใต้ โดยการลงทุน 40,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพราะ 3 ประเทศดังกล่าวได้รับผลกระทบมากที่สุด
บรรทัด 67:
 
=== ภายในประเทศไทย ===
 
# ธุรกิจของเอกชน ไม่ว่าจะเป็น สถาบันการเงิน หรือ บ้านจัดสรร เป็นต้น ต่างพากันปิดกิจการลง พนักงานถูกปลดออก มีหนี้สินเกิดขึ้นมหาศาล จนมีการประท้วงโดยประชาชนส่งผลทำให้พลเอกชวลิต ตัดสินใจลาออกและต้องพ้นจากการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ [[8 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2540]] โดยมีนาย[[ชวน หลีกภัย]] ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่ 2 สืบต่อมาในวันถัดไป (คือเมื่อวันที่ [[9 พฤศจิกายน]] พ.ศ. 2540)
# ธนาคารแห่งประเทศไทยพยายามพยุงค่าเงินบาท โดยใช้เงินสำรองเงินตราต่างประเทศจนหมด ประกอบกับกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ต้องใช้เงินของกองทุนในการให้ความช่วยเหลือแก่สถาบันการเงินหลายแห่ง(หมายถึง ธนาคารพาณิชย์ และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ เป็นต้น)ในประเทศไทย ด้วยจำนวนเงินสูงสุดถึง 6 แสนล้านบาท ทำให้การใช้เงินในเหตุการณ์วิกฤตการณ์ครั้งนี้ของทั้ง 2 หน่วยงานเองหมดลงทันทีและต้องกู้จาก ไอเอ็มเอฟ จำนวน 17,200 ล้านเหรียญสหรัฐ
เส้น 76 ⟶ 75:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
{{เศรษฐกิจไทย}}