ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประวัติศาสตร์ไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Annop Nakabut (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Horus
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Annop Nakabut (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9053232 สร้างโดย Horus (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{กึ่งล็อก|small=yes}}
{{ประวัติศาสตร์ไทย}}
 
'''ประวัติศาสตร์ไทย''' เชื่อว่ามีมนุษย์อยู่อาศัยอยู่ถาวรในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันมาแล้วประมาณ 40,000 ปี เดิมชาวมอญ เขมรและมลายูปกครองพื้นที่ดังกล่าว โดยมีอาณาจักรใหญ่ เช่น [[อาณาจักรฟูนาน|ฟูนาน]] [[อาณาจักรทวารวดี|ทวารวดี]] [[อาณาจักรหริภุญชัย|หริภุญชัย]] [[จักรวรรดิเขมร]] และ[[อาณาจักรตามพรลิงก์|ตามพรลิงก์]] ส่วนบรรพบุรุษ[[ไทยสยาม]]ปัจจุบันซึ่งจัดอยู่ในกลุ่ม[[ชาวไท|ชาวไท-ไต]]เป็นกลุ่มที่อาศัยอยู่ในแถบ[[เดียนเบียนฟู]]ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึง 8 และเริ่มเข้ามาอยู่อาศัยในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันในคริสต์ศตวรรษที่ 11 รัฐของชาวไทเกิดขึ้นจำนวนมากในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ประมาณปี 1780 [[พ่อขุนบางกลางหาว]]รวบรวมกำลังกบฏต่อเขมร และตั้ง[[อาณาจักรสุโขทัย]] เหนือขึ้นไป [[พญามังราย]]ทรงตั้ง[[อาณาจักรล้านนา]]ในปี 1839 มีศูนย์กลางอยู่ที่[[เวียงเชียงใหม่|เชียงใหม่]] ทรงรวบรวมแว่นแคว้นขึ้นในแถบลุ่ม[[แม่น้ำปิง]] ส่วนบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่างมีการตั้งสหพันธรัฐในบริเวณเพชรบุรี [[แคว้นสุพรรณภูมิ|สุพรรณบุรี]] ลพบุรีและอยุธยาในคริสต์ศตวรรษที่ 11 นักประวัติศาสตร์กระแสหลักมักเลือกนับสุโขทัยเป็นราชธานีแห่งแรกของคนไทย
 
อาณาจักรอยุธยาก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1893 ต่อมาเป็นใหญ่แทนจักรวรรดิเขมร และแทรกแซงอาณาจักรสุโขทัยอย่างต่อเนื่องจนสุดท้ายถูกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา [[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]]ทรงจัดการปกครองโดยแบ่งพลเรือนกับทหารและจตุสดมภ์ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และทรงริเริ่ม[[ระบบเจ้าขุนมูลนาย]] ทำให้ประชากรส่วนใหญ่เป็นไพร่ใช้แรงงานปีละ 6 เดือน กรุงศรีอยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ พ.ศ. 2054 หลังจากนั้นในปี 2112 [[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง|กรุงศรีอยุธยาตกเป็นประเทศราช]]ของราชวงศ์ตองอูแห่งพม่า [[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ทรงประกาศอิสรภาพในอีก 15 ปีให้หลัง กรุงศรีอยุธยายังติดต่อกับชาติตะวันตก จนรุ่งเรืองถึงขีดสุดในรัชกาล[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ความขัดแย้งภายในติด ๆ กันหลายรัชกาลใน[[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]] และการสงครามกับ[[ราชวงศ์คองบอง]] (อลองพญา) จนส่งผลให้[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง|เสียกรุงครั้งที่สอง]]เมื่อปี 2310 หลังจากนั้นบ้านเมือง[[สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง|แตกออกเป็นชุมนุมต่าง ๆ]] [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี|เจ้าตาก]]ทรงรวบรวมแผ่นดินและขยายอาณาเขต หลังเกิดความขัดแย้งช่วงปลายรัชกาล พระองค์และพระราชโอรสทั้งหลายทรงถูกสำเร็จโทษโดย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ปฐมกษัตริย์แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]] ผู้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นในปี 2325
เส้น 30 ⟶ 31:
 
=== หลักฐานยุคก่อนประวัติศาสตร์ ===
[[ไฟล์:BlackCeramicBanChiangCultureThailand1200-800BCE.jpg|thumb|upright=0.8|เครื่องปั้นดินเผาวัฒนธรรมบ้านเชียง 1200-800 ปีก่อน ค.ศ.คริสตกาล]]
นักโบราณคดี[[ประเทศเนเธอร์แลนด์|ชาวฮอลันดา]] ดร. เอช. อาร์. แวน ฮิงเกอเรน ได้ขุดค้นพบเครื่องมือหินเทาะซึ่งทำขึ้นโดยมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ บริเวณใกล้สถานีบ้านเก่า [[จังหวัดกาญจนบุรี]] โดยมีข้อสันนิษฐานว่ามนุษย์เหล่านี้อาจเป็น ''มนุษย์ชวาและมนุษย์ปักกิ่ง''<ref>วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์. (2545). '''บรรพบุรุษไทย: สมัยก่อนสุโขทัยและสมัยสุโขทัย.''' โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ISBN 974-13-1780-8. หน้า 2.</ref> ซึ่งอยู่อาศัยเมื่อประมาณ 5 แสนปีมาแล้ว อันเป็นหลักฐานใน[[ยุคหินเก่า]]
 
เส้น 38 ⟶ 39:
[[อาณาจักรฟูนาน]]เป็นอาณาจักรแรกสุดและทรงอำนาจที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เจริญขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสตกาล โดยมีอาณาเขตครอบคลุมภาคกลางของประเทศไทยและทั้งประเทศกัมพูชาปัจจุบัน โดยมีเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับการค้าทางทะเลและเกษตรกรรม มีการติดต่อการค้าอย่างใกล้ชิดกับอินเดียและเป็นฐานสำหรับนักเผยแผ่ศาสนาฮินดู<ref name="loc">{{cite book |author= Barbara Leitch LePoer |title= Thailand: A Country Study |url= |location= |publisher= Federal Research Devision, Library of Congress |page= |date= 1989 |isbn= 978-0739715666}}</ref>{{rp|5}}
 
[[ไฟล์:Map-of-southeast-asia 900 CE.png|thumb|left|250px|แผนที่อินโดจีนใน .ศ. 900 แสดงจักรวรรดิ{{ไม่ตัดคำ|เขมร}} (สีแดง) ที่ครอบคลุมดินแดนส่วนใหญ่ของประเทศไทยปัจจุบัน; สีเขียวแก่คือหริภุญไชย และสีเขียวอ่อนคืออาณาจักรศรีวิชัย]]
 
ต่อมา ชาวมอญอาศัยช่วงที่ฟูนานเสื่อมลงตั้งอาณาจักรของตนในคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 6 [[อาณาจักรทวารวดี]]ตั้งอยู่ในพื้นที่ตอนกลางและตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน แต่รายละเอียดต่าง ๆ ยังไม่ค่อยทราบกันดีนัก<ref name="Wyatt"/>{{rp|30}} โดยตั้งขึ้นเพื่อการค้าขายทางบกระหว่าง[[อ่าวเมาะตะมะ]]และ[[อ่าวไทย]]ผ่าน[[ด่านเจดีย์สามองค์]] แต่มีการแผ่ขยายทางทิศตะวันออกไปถึงกัมพูชา ทางเหนือไปถึงเชียงใหม่และทางเหนือของประเทศลาว พอทราบว่ามีกลุ่มเมืองหนึ่งอยู่แถบนครปฐมและสุพรรณบุรี กลุ่มหนึ่งตั้งอยู่ที่ลพบุรี และอีกกลุ่มหนึ่งแถบ[[ที่ราบสูงโคราช]]<ref name="Wyatt"/>{{rp|32–3}} ซึ่งคนไทในสมัยนั้นก็อาศัยอยู่ตามชายขอบของทวารวดี<ref name="Wyatt"/>{{rp|35}} ประมาณต้นคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 9 ชาวมอญตั้ง[[อาณาจักรหริภุญไชย]]ที่ลำพูน ซึ่งต่อมาเป็นศูนย์กลางทางศาสนาพุทธและวัฒนธรรม ส่วนชาวเขมรตั้ง[[จักรวรรดิเขมร|อาณาจักรใหญ่]]มีศูนย์กลางอยู่ที่[[เมืองพระนคร|อังกอร์]]ในคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 9<ref name="loc"/>{{rp|7}} ในคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 8 รัฐมอญรับศาสนาพุทธผ่านผู้เผยแผ่ศาสนาจากเกาะลังกา และเผยแผ่ต่อให้จักวรรดิเขมร แม้มอญครอบงำทางวัฒนธรรมในภูมิภาค แต่มักตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าและเขมรอยู่เนือง ๆ ผลทำให้ในคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 9 จักรวรรดิเขมรครอบงำลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาปัจจุบันทั้งหมด<ref name="loc"/>{{rp|7}} จักรวรรดิเขมรมีการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่จำนวนมากเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์ แต่การหมกมุ่นกับการก่อสร้างมากเกินไปทำให้เศรษฐกิจของรัฐเสื่อมลง<ref name="loc"/>{{rp|7}}
 
[[อาณาจักรตามพรลิงก์]]เป็นรัฐมลายูที่ควบคุมการค้าผ่านช่องแคบมะละกาที่ทรงอำนาจที่สุด เจริญขึ้นในคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 10 ตามพรลิงก์รวมเข้ากับ[[อาณาจักรศรีวิชัย]]ซึ่งเป็นสมาพันธรัฐทางทะเลที่มีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 7 ถึง 13 ตามพรลิงก์รับศาสนาพุทธ แต่อาณาจักรมลายูที่อยู่ใต้ลงไปรับศาสนาอิสลาม ทำให้เกิดพรมแดนศาสนาระหว่างเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่กับคาบสมุทรมลายู<ref name="loc"/>{{rp|5}}
 
=== การเข้ามาตั้งถิ่นฐานของคนไท ===
[[ไฟล์:TaiFamilyTree Overlaid On Map.png|thumb|300px|แผนที่แสดงการกระจายทางภูมิศาสตร์ของผู้พูด[[ตระกูลภาษาขร้า-ไท|ภาษาตระกูลขร้า-ไท]] จะเห็นรูปแบบทั่วไปของการย้ายถิ่นของเผ่าที่พูดภาษาไทตามแม่น้ำและช่องเขาต่าง ๆ<ref name="chris">{{cite book |last1= Baker |first1= Chris |author-link1= คริส เบเคอร์ |last2= Phongpaichit |first2= Pasuk |author-link2= ผาสุก พงษ์ไพจิตร |date= 2017 |title= A History of Ayutthaya |url= https://books.google.com/books?id=GHiuDgAAQBAJ&lpg=PP1&pg=PA27#v=onepage&q&f=false |location= |publisher= Cambridge University Press |page= |isbn= 9781107190764}}</ref>{{rp|27}}]]
{{ดูเพิ่มที่|แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของชนชาติไท}}
เดวิด วัยอาจเขียนว่า บรรพชนของคนไท-ไตที่อาศัยอยู่ในอินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ พม่า ยูนนานใต้ ไทยและลาวปัจจุบัน คือ กลุ่มไท-ไตที่อยู่แถบ[[เดียนเบียนฟู]]ในคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 5 ถึง 8<ref name="Wyatt"/>{{rp|9}} โดยเชื่อว่าเป็นกลุ่มไท-ไตที่เดิมอาศัยอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำแดงที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้สุดของจีน และถูกจีนและเวียดนามแผ่แรงกดดันทางทหารและการปกครองเข้ามาจนประชากรกลุ่มหนึ่งเคลื่อนลงมาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้<ref name="Wyatt"/>{{rp|9–10}} พบว่า[[อาณาจักรน่านเจ้า]]ที่อยู่ทางเหนือของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่ ไม่ใช่อาณาจักรของคนไท-ไต แต่มีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์กลุ่มไท-ไตในแง่ที่ช่วยกั้นอิทธิพลของจีนจากทิศเหนือ และรับศาสนาพุทธและวัฒนธรรมอินเดียทางทิศตะวันตก<ref name="Wyatt"/>{{rp|20–1}} และช่วยส่งเสริมการขยายตัวของกลุ่มไท-ไต<ref name="loc"/>{{rp|9}}
 
มีการกล่าวถึงชาวไทยสยามครั้งแรกใน[[นครวัด]]ในคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 12 โดยเรียกว่า "เสียม" หรือคนผิวน้ำตาล<ref name="loc"/>{{rp|3}} พบว่าคนไท-ไตในช่วงคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 11–12 อาศัยอยู่แถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและตอนกลางของ[[แม่น้ำโขง]]ในลาว<ref name="Wyatt"/>{{rp|40}} ลพบุรีซึ่งเป็นเมืองมอญถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเขมรในคริสต์ศตวรรษที่ 11<ref name="Wyatt"/>{{rp|41}} ลพบุรีเป็นศูนย์กลางของเสียม (สยำ) หรือเป็นเมืองที่รับผิดชอบการบริหารจัดการชาวเสียม<ref name="Wyatt"/>{{rp|42}}
 
ในช่วงคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 11–12 ชาวไท-ไตตั้งรัฐใหม่ ๆ ทางเหนือของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่ มีคำกล้าวอ้างว่าชาวไท-ไตปล้นสะดมและจับเชลยของเจ้านายไท-ไตหลายพระองค์ ผู้ปกครองที่พ่ายต่อชาวไท-ไตต่างเกรงกลัวยอมส่งเครื่องราชบรรณาการและให้เชื้อพระวงศ์อภิเษกสมรสด้วย ย่างเข้าคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 13 ชาวไท-ไตต่าง ๆ ยังอยู่กันเป็นแว่นแคว้นไม่มีการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ในช่วงนี้เมืองของชาวไท-ไตมีขนาดพอ ๆ กันไม่มีเมืองใดใหญ่กว่าเมืองอื่น และตั้งอยู่รอบจักรวรรดิเขมรและ[[อาณาจักรพุกาม]] ไปจนถึงตอนเหนือของลาว<ref name="Wyatt"/>{{rp|48–9}}
 
เมื่อ[[จักรวรรดิเขมร]]และ[[อาณาจักรพุกาม]]เสื่อมอำนาจเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 13 ทำให้เกิดรัฐใหม่ขึ้นเป็นจำนวนมากในเวลาไล่เลี่ยกัน อาณาจักรของชาวไทกินอาณาบริเวณตั้งแต่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดียปัจจุบันจนถึงทิศเหนือของลาว และลงไปถึงคาบสมุทรมลายู<ref name="Wyatt"/>{{rp|38–9}} ระหว่างคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 13 มีประชากรชาวไทอาศัยอยู่มั่นคงในอดีตดินแดนแกนกลางของอาณาจักรทวารวดีและ[[อาณาจักรละโว้|อาณาจักรลพบุรี]] จนถึงดินแดน[[นครศรีธรรมราช]] แต่ไม่มีบันทึกรายละเอียดการเข้ามาของชาวไท<ref name="Wyatt">{{cite book |last= Wyatt |first= David K. |date= 2556 |title= Thailand: A Short History |trans-title= ประวัติศาสตร์ไทยฉบับสังเขป |url= |location= |publisher= มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย |page= |language= อังกฤษ | author-link1 = เดวิด เค. วัยอาจ | translator-last1= ละอองศรี | translator-first1= กาญจนี |isbn= 978-616-7202-38-9 |author-link= }}</ref>{{rp|50–1}}
 
== อาณาจักรของคนไท ==
{{บทความหลัก|อาณาจักรสุโขทัย|อาณาจักรล้านนา}}
[[ไฟล์:Wat Mahathat Sukhothai before sunset.jpg|thumb|[[วัดมหาธาตุ (จังหวัดสุโขทัย)|วัดมหาธาตุ]] [[อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย]]]]
เมื่อสิ้นคริสต์ศตวรรษพุทธศตวรรษที่ 1311 คนไท-ไตเริ่มย้ายลงจากหุบเขามาอยู่ที่ลุ่ม ทำให้เกิดรัฐเล็ก ๆ จำนวนมากที่แย่งชิงอาณาเขตกัน และเริ่มเข้ามาแทนที่สองจักรวรรดิใหญ่ คือ พุกามและพระนคร<ref name="Wyatt"/>{{rp|53}} นครรัฐของไทค่อย ๆ เป็นอิสระจาก[[จักรวรรดิเขมร]]ที่เสื่อมอำนาจลง กล่าวกันว่า [[พ่อขุนศรีอินทราทิตย์]] (ครองราชย์ 1792–1822) ทรงสถาปนาราชอาณาจักร[[สุโขทัย]]เมื่อปี 1781 นักประวัติศาสตร์ทราบลำดับเหตุการณ์ในช่วงแรกของอาณาจักรน้อยมาก แต่พอทราบว่าในรัชกาลพ่อขุนศรีอินทราทิตย์มีเหตุให้กรุงสุโขทัยรบกับ[[เมืองฉอด]] ซึ่งขุนรามทรงประกอบวีรกรรมชนช้างชนะข้าศึก<ref name="Wyatt"/>{{rp|74}} [[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช|พ่อขุนรามคำแหง]] (ครองราชย์ 1822–18411842) ทรงเป็นผู้นำชาวไทที่มีความโดดเด่นและทะเยอทะยาน ทรงขยายอาณาเขตโดยใช้การทหารและการทูตผสมกัน ทั้งนี้ อาณาเขตอันกว้างขวางของกรุงสุโขทัยนั้นไม่ได้เกิดจากการเดินทัพไปหักตีเอาเมืองต่าง ๆ แต่เป็นเขตอิทธิพลที่มีผู้นำเข้าสวามิภักดิ์ และเขตอิทธิพลของสุโขทัยทางใต้ก็เกิดจากนครศรีธรรมราชที่เข้าสวามิภักดิ์ด้วย<ref name="Wyatt"/>{{rp|78–79}} [[พญาลิไท]] (ครองราชย์ 1841–1889/901890-1911) ทรงสืบราชสมบัติต่อมา แต่หลายเมืองเอาใจออกห่างทันที การที่สุพรรณบุรีแยกตัวออกทำให้กั้นระหว่างกรุงสุโขทัยกับดินแดนสวามิภักดิ์ที่อยู่ใต้ลงไป และนำไปสู่ชุดเหตุการณ์ที่นำไปสู่ความเจริญของกรุงศรีอยุธยา<ref name="Wyatt"/>{{rp|86}}
 
[[พญามังราย]] (ครองราชย์ 1802–18601854) ทรงสืบราชสมบัติเป็นเจ้าผู้ครอง[[หิรัญนครเงินยางเชียงลาว]] แต่เดิมเป็นอาณาจักร[[โยนกนครไชยบุรีราชธานีศรีช้างแส่น|โยนกนคร]] (เชียงแสน) ทรงพิชิตดินแดนเพื่อนบ้านแล้วขยายอำนาจลงทิศใต้สถาปนาราชอาณาจักรล้านนา โดยตั้งเมือง[[เชียงราย]]เป็นเมืองหลวงแรก ขึ้นในปี 1805 ทรงพิชิตดินแดนเพื่อนบ้านแล้วขยายอำนาจลงทิศใต้ รวมทั้งเข้ายึดครองยึด ครอง[[เชียงของ]]และ[[อำเภอฝาง|ฝาง]] แล้วย้ายเมืองหลวงมาเป็น[[เวียงฝาง]] ในปี 1818 แต่เวลาไม่นาน แล้วก็ย้ายเมืองหลวงอีกครั้งเป็น[[เวียงกุมกาม]] ในปี 1824 แล้วย้ายเมืองหลวงเป็นครั้งสุดท้าย โดยตั้งเมือง[[เชียงใหม่]]เป็นเมืองราชธานี ในปี 1839 ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา<ref> [https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/880641/| กว่าจะเป็นล้านนา]</ref> ในเวลาต่อมา พระองค์เข้าเป็นพันธมิตรกับ[[พญางำเมือง]] (ครองราชย์ 1801–1841) แห่ง[[แคว้นพะเยา]]และ[[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช|พ่อขุนรามคำแหง]]แห่งสุโขทัย เป็นพระมิตรสหายร่วมกัน ด้วยเหตุผลด้านความทะเยอทะยานในการขยายอำนาจและร่วมกันรับมือภัยคุกคามจากมองโกลทางเหนือ ทั้งนี้ ทั้งสามพระองค์ทรงเห็นแก่อัตลักษณ์ร่วมไท-ไต<ref name="Wyatt"/>{{rp|61–62}} พญามังรายทรงพิชิตหริภุญไชยได้ในปี 1824 นับเป็นเจ้าผู้ครองดินแดนทางเหนือได้ทั้งหมด ระหว่างปี 1835 ถึง 1854 มองโกลกับเชียงรุ่งรบกัน จนสุดท้ายทั้งสองสงบศึกโดยเชียงรุ่งและเชียงใหม่ส่งบรรณาการให้แก่ราชสำนักจีน<ref name="Wyatt"/>{{rp|65–66}}
 
== อาณาจักรอยุธยา ==
{{บทความหลัก|อาณาจักรอยุธยา}}
[[ไฟล์:Wat Phra Sri Sanphet 01.jpg|thumb|[[วัดพระศรีสรรเพชญ์]] [[อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา]]]]
ประมาณกลางคริสต์ศตวรรษปลายพุทธศตวรรษที่ 1419 [[อาณาจักรอยุธยา]]เป็นอาณาจักรของคนไทขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับล้านนาและสุโขทัย ท่ามกลางแว่นแคว้นจำนวนมากในภาคกลางของประเทศไทยปัจจุบัน นับเป็นครั้งแรกที่กษัตริย์ไทมีความทะเยอทะยานก่อตั้งมากกว่าชุมชนเมืองเล็ก ๆ<ref name="Wyatt"/>{{rp|89}} ศูนย์กลางของอาณาจักรอยุธยาเป็น[[แคว้นลพบุรี]]ในจักรวรรดิเขมรเดิม แคว้นลพบุรีรอดพ้นจากการพิชิตดินแดนของสุโขทัย โดยยังรักษาอิทธิพลเหนือที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก<ref name="Wyatt"/>{{rp|92–3}} ในช่วงเวลานั้น[[แคว้นสุพรรณบุรี]]ควบคุมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่[[ชัยนาท]]ทางเหนือจนถึง[[ชุมพร]]ทางใต้<ref name="Wyatt"/>{{rp|94–5}}
 
[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1|พระเจ้าอู่ทอง]] (ครองราชย์ 1893–1912) ทรงก่อตั้ง[[อาณาจักรอยุธยา]]ในปี 1893 พระองค์ทรงยกทัพไปตี[[นครธม]] เมืองหลวงของจักรวรรดิเขมร จนสามารถปกครองเมืองได้ช่วงสั้น ๆ<ref name="Wyatt"/>{{rp|102}} [[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]] (ครองราชย์ 1913–31) ทรงหันไปสนพระทัยกับหัวเมืองเหนือ และทำสงครามกับสุโขทัยตลอดรัชกาล จนบังคับให้สุโขทัยยอมรับอำนาจเหนือของอยุธยาได้<ref name="Wyatt"/>{{rp|102}} มีวิกฤตการสืบราชสมบัติอยู่เนือง ๆ ระหว่างราชวงศ์สุพรรณบุรีและลพบุรีอยู่หลายชั่วคน จนราชวงศ์สุพรรณบุรีชนะในปี 1952<ref name="ชาญวิทย์"/>{{rp|15}} ในรัชกาล[[สมเด็จพระอินทราชา]] (ครองราชย์ 1952–67) กรุงศรีอยุธยาเข้าไปแทรกแซงการเมืองภายในสุโขทัย เริ่มจากลดฐานะเจ้าผู้ครองเป็นเจ้าสวามิภักดิ์ เข้าไปตัดสินปัญหาการสืบราชสมบัติ จนผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยาในปี 1987<ref name="Wyatt"/>{{rp|104}} ในรัชกาล[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]] (ครองราชย์ 1967–91) นครธมถูกกองทัพอยุธยาตีแตก จนปกครองนครธมในฐานะหัวเมืองประเทศราชช่วงสั้น ๆ ก่อนถูกปล่อยให้ทิ้งร้าง<ref name="Wyatt"/>{{rp|105–6}} [[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] (ครองราชย์ 1991–2031) ทรงรับช่วงการสงครามกับล้านนาต่อ พระองค์ยังทรงสร้างระบบควบคุมกำลังคนทำให้กรุงศรีอยุธยาได้เปรียบเหนือดินแดนเพื่อนบ้าน โดยมีระบบการควบคุมไพร่ปีละหกเดือนให้สังกัดขุนนางท้องถิ่น<ref name="Wyatt"/>{{rp|107}} ระบบราชการเริ่มใช้ตามรูปแบบของจักรวรรดิเขมร คือ สร้างความห่างเหินระหว่างกษัตริย์กับราษฎร และควบคุมขุนนางด้วยเอกสารลายลักษณ์อักษรแทนการสวามิภักดิ์<ref name="Wyatt"/>{{rp|108–9}} พระองค์ยังทรงออกกฎหมายจัดลำดับชั้นและแบ่งแยกหน้าที่ในสังคมที่ซับซ้อน ทรงตั้ง[[จตุสดมภ์]]และเพิ่มตำแหน่งกลาโหมและมหาดไทย<ref name="ชาญวิทย์">{{cite book |last= เกษตรศิริ |first= ชาญวิทย์ |date= 2548 |title= อยุธยา: ประวัติศาสตร์และการเมือง |url= |location= |publisher= โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |isbn= 9740157273 |author-link= }}</ref>{{rp|30}}
เส้น 86 ⟶ 87:
== กรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ==
 
=== กรุงธนบุรี ===
=== การรวมแผ่นดิน ===
{{บทความหลัก|สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง|อาณาจักรธนบุรี}}
[[ไฟล์:พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร (10).jpg|thumb|200px|พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีตากสินมหาราช ณ [[วงเวียนใหญ่]] พระองค์ทรงมีพระบรมราชานุสาวรีย์มากกว่าอดีตพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์<ref>{{cite book|title=การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี|year=2550|author=[[นิธิ เอียวศรีวงศ์]]|publisher=[[มติชน]]|isbn=9789740201779}} หน้า 55</ref>]]
 
หลังกรุงศรีอยุธยาแตกในปี 2310 บ้านเมืองตกอยู่ในภาวะ[[อนาธิปไตย]] พม่าที่ติดพันใน[[สงครามจีน-พม่า|การสงครามกับจีน]]จึงเหลือกองทหารเล็ก ๆ ไว้รักษากรุงเก่าเท่านั้น บ้านเมืองแตกออกเป็น 5 ชุมนุม ได้แก่ [[กรมหมื่นเทพพิพิธ|ชุมนุมเจ้าพิมาย]]ที่นครราชสีมา [[เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)|ชุมนุมเจ้าพิษณุโลก]] [[ชุมนุมเจ้าพระฝาง]]ที่[[เมืองสวางคบุรี|เมืองสวางคบุรี (ฝาง)]] ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช และชุมนุมเจ้าตาก เจ้าตากเริ่มสร้างฐานอำนาจที่จันทบุรีแล้วใช้เวลาไม่ถึงปีขยายอำนาจทั่วภาคกลางของประเทศไทยปัจจุบัน<ref name="Wyatt"/>{{rp|220–1}} [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] (ครองราชย์ 2310–25) หลังปราบดาภิเษกแล้ว ทรงเลือกกรุงธนบุรีเป็นราชธานีซึ่งมีทำเลเหมาะแก่การค้าทางทะเล ทรงใช้เวลาอีกสามปีรวบรวมหัวเมืองที่เคยขึ้นกับกรุงศรีอยุธยาเป็นหนึ่งอีกครั้ง<ref name="Wyatt"/>{{rp|223}} พระองค์ยังทรงขยายอิทธิพลไปยังดินแดนใกล้เคียง หัวเมืองมลายูตรังกานูและปัตตานีส่งเครื่องราชบรรณาการให้กรุงธนบุรี ทรงผลักดันเจ้ากัมพูชาให้ขึ้นครองราชย์ และทรงให้ความช่วยเหลือแก่พระเจ้ากรุงเวียงจันในการสงคราม นอกจากนี้ ยังทรงขับทหารพม่าออกจากล้านนาได้ในปี 2319 ทำให้ล้านนาเป็นประเทศราชของกรุงธนบุรีนับแต่นั้น<ref name="Wyatt"/>{{rp|224–5}} จากนั้นโปรดให้ยกทัพไปปราบหัวเมืองตะวันออก โดยนครเวียงจันถูกตีแตกในปี 2321 และมีการอัญเชิญ[[พระแก้วมรกต]]มาประดิษฐาน<ref name="Wyatt"/>{{rp|227–8}} ในช่วงปลายรัชกาล มีบันทึกว่าพระองค์มีพระสติฟั่นเฟือนเพราะบังคับให้พระสงฆ์กราบไหว้และสั่งลงโทษพระสงฆ์ที่ไม่ยอมตาม อย่างไรก็ดี น่าจะเป็นเรื่องแต่งเติมเพราะพระองค์เป็นคนนอกไม่มีพื้นเพเป็นตระกูลผู้ดีเก่ากรุงศรีอยุธยามากกว่า<ref name="Wyatt"/>{{rp|229–30}} ปลายปี 2324 กลุ่มชนชั้นนำต่างคิดเห็นว่าควรปลดสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเสีย ครั้นปี 2325 เกิดกบฏพระยาสรรค์ เจ้าพระยาจักรีที่กำลังยกทัพไปปราบกบฏในกัมพูชาในปีเดียวกันจึงยกทัพกลับมารักษาความสงบในกรุง และสำเร็จโทษสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี<ref name="Wyatt"/>{{rp|230–1}}
เส้น 94 ⟶ 95:
=== กรุงเทพมหานคร ===
{{หลัก|อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)}}
[[ไฟล์:อนุสาวรีย์รัชกาลที่1 027.jpg|thumb|200px|พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ณ [[เขตพระนคร]] พระองค์ทรงเป็นผู้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์]]
[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] (ครองราชย์ 2325–52) ปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]] และทรงย้ายเมืองหลวงมายัง[[กรุงเทพมหานคร]] ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา โดยมีการขนย้ายอิฐกำแพงกรุงศรีอยุธยาเดิมมาสร้างเป็นกำแพงพระนครแห่งใหม่ด้วย<ref name="Wyatt"/>{{rp|233–4}} พระองค์ทรงให้ปฏิรูปการปกครองคณะสงฆ์ มีการออกกฎคณะสงฆ์ สังคายนาพระไตรปิฏก ทรงให้ฟื้นฟูขนบธรรมเนียมอย่างกรุงศรีอยุธยาซึ่งถือเป็นยุคทอง โปรดให้จัดทำประมวลกฎหมาย ชื่อ [[กฎหมายตราสามดวง]] ซึงซึ่งใช้กันในกรุงรัตนโกสินทร์ต่อมาอีกหนึ่งศตวรรษ<ref name="Wyatt"/>{{rp|234–5}} ในปี 2328 [[พระเจ้าปดุง]] (ครองราชย์ 2324–62) แต่งทัพออกเป็น 9 ทัพ ยกมาตีกรุงเทพมหานคร 5 ทิศทาง เรียก [[สงครามเก้าทัพ]] พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงใช้ยุทธศาสตร์กระจายกำลังไปรับศึกนอกพระนครได้เป็นผลสำเร็จ พม่ายกทัพมาอีกครั้งในปลายปี 2328 และต้นปี 2329 เรียก [[สงครามท่าดินแดง]] แต่ก็ถูกตีกลับไปเช่นกัน<ref name="Wyatt"/>{{rp|240–5}} กรุงเทพมหานครยังส่งทัพไปช่วยล้านนาจากพม่าได้สามครั้ง<ref name="Wyatt"/>{{rp|246–7}} ทรงให้[[พระยากาวิละ]] (ต่อมาเป็นพระเจ้ากาวิละ) ต้น[[ราชวงศ์ทิพย์จักร|ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน]] เป็นเจ้าครอง[[นครเชียงใหม่|ล้านนาในฐานะประเทศราชของกรุงเทพมหานคร]]สืบต่อไป<ref name="Wyatt"/>{{rp|251–2}} พระยากาวิละรวบรวมผู้คนเพื่อมาตั้งรกรากในเชียงใหม่ที่ถูกปล่อยทิ้งร้างไว้อีกครั้ง และขยายอาณาเขตไปทางทิศเหนือจนตีได้เชียงแสนและหัวเมืองแถบลุ่มแม่น้ำโขงตอนบน นับได้ว่าสามารถฟื้นฟูอาณาจักรล้านนาโบราณได้สำเร็จ<ref name="Wyatt"/>{{rp|252–3}} กรุงเทพมหานครยังพยายามขยายอิทธิพลเข้าไปในกัมพูชาและลาว โดยใช้วิธีแบ่งแยกและปกครอง คือ แบ่งล้านช้างออกเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ เพื่อทำให้อ่อนแอจนไม่สามารถแข่งขันกับกรุงเทพมหานครได้<ref name="Wyatt"/>{{rp|257}} แยก[[สงขลา]]ออกจากเจ้านครศรีธรรมราชแล้วส่งขุนนางส่วนกลางไปปกครองโดยตรง กับทั้งลดฐานะของเจ้านครศรีธรรมราชเป็นเจ้าเมือง และแบ่งแยก[[กลันตัน]]และ[[ตรังกานู]]<ref name="Wyatt"/>{{rp|259}}
 
รัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] (ครองราชย์ 2352–67) ถือเป็นยุคทองแห่งศิลปะ และสงบสุขเกือบตลอดรัชกาล กัมพูชากลายเป็นสนามรบระหว่างกรุงเทพมหานครและเวียดนาม สุดท้ายเวียดนามครอบงำกัมพูชาอยู่หลายสิบปีหลังปี 2356 แต่กรุงเทพมหานครเข้าควบคุมพื้นที่กว้างขวางขึ้นในกัมพูชา<ref name="Wyatt"/>{{rp|257–9}} หลังจากอิทธิพลของอังกฤษในภูมิภาคเพิ่มขึ้นจากการได้มะละกา [[ปีนัง|เกาะหมาก (ปีนัง)]] และ[[สิงคโปร์]] ในปี 2364 ข้าหลวงใหญ่อังกฤษประจำอินเดียส่ง[[จอห์น ครอว์เฟิร์ด]]เข้ามาเจรจาค้าขาย แต่ไม่ได้อะไรเป็นชิ้นเป็นอันกลับไป<ref name="Wyatt"/>{{rp|271,273}}
 
ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (ครองราชย์ 2367–94) รัฐบาลอังกฤษในอินเดียส่ง[[เฮนรี เบอร์นี]]เข้ามาเจรจากับกรุงเทพมหานคร โดยขอให้ส่งเสบียงช่วยเหลือหรือไม่ก็วางตนเป็นกลางใน[[สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่หนึ่ง]] (2367–969) อังกฤษกลายมามีอาณาเขตติดต่อกับกรุงเทพมหานครหลังยึดดินแดนทางตะวันออกเฉียงใต้ของพม่าไว้ได้<ref name="Wyatt"/>{{rp|279–80}} ราชสำนักยอมตกลง[[สนธิสัญญาเบอร์นี]]ในปี 2369 หลังมีข่าวว่าอังกฤษชนะพม่า เนื้อหาของสนธิสัญญา อังกฤษยอมรับอำนาจของกรุงเทพมหานครเหนือไทรบุรี [[กลันตัน]] [[ตรังกานู]]และ[[ปัตตานี]] แลกกับที่กรุงเทพมหานครยอมรับอิสรภาพของ[[เปรัก]]และ[[สลังงอร์]] และลดการเก็บภาษีจำนวนมากกับวาณิชต่างประเทศเหลือค่าธรรมเนียมปากเรืออย่างเดียว<ref name="Wyatt"/>{{rp|281}} ในปี 2376 สหรัฐส่งทูตเข้ามาทำ[[สนธิสัญญาไมตรีและพาณิชย์ ค.ศ. 1833|สนธิสัญญาโรเบิร์ต]] ซึ่งนับเป็นสนธิสัญญาแรกระหว่างสหรัฐกับชาติเอเชีย<ref name="Smith">[http://www.mnh.si.edu/treasures/thaiversion/Gallery1a_t.htm ห้องนิทรรศการ 1 เครื่องราชบรรณาการแก่สหรัฐในแง่ประวัติศาสตร์ ก. สนธิสัญญาทางไมตรีและพาณิชย์ ค.ศ.1833]. Smithsonian Institution. สืบค้นเมื่อ 17-12-2553.</ref>
 
ฝ่าย[[เจ้าอนุวงศ์]] (ครองราชย์ 2348–71) แห่งเวียงจันหลังทราบข่าวกรุงเทพมหานครเตรียมรับศึกอังกฤษ ก็หมายฉวยโอกาสโจมตีกรุงเทพมหานครเพื่อกวาดต้อนผู้คนไปไว้ในราชอาณาจักร ในปี 2369 [[กบฏเจ้าอนุวงศ์|ก่อกบฏ]]โดยยกทัพเข้ามายึดนครราชสีมา ฝ่ายกรุงเทพมหานครหยุดยั้งการบุกเอาไว้ได้ และส่งกองทัพไปตีกรุงเวียงจันได้สำเร็จ<ref name="Wyatt"/>{{rp|283–4}} แต่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวยังไม่พอพระทัยที่จับเจ้าอนุวงศ์ไม่ได้ และมีพระราชประสงค์ให้ทำลายเวียงจันให้สิ้นซาก ในปี 2370 มีการส่งกองทัพอีกกองหนึ่งขึ้นไปตีกรุงเวียงจันที่เจ้าอนุวงศ์ตีกลับคืนไปได้อีกครั้ง ครั้งนี้มีการทำลายอาคารบ้านเรือนทั้งหมดจนสิ้นซาก และกวาดต้อนผู้คนมาอยู่ในแถบภาคกลางของประเทศไทยปัจจุบัน คณะสำรวจฝรั่งเศสอีกสี่สิบปีถัดมาบันทึกว่าเวียงจันยังเป็นเมืองร้าง<ref name="Wyatt"/>{{rp|284–5}} หลังจากนั้นอีกหลายสิบปี กรุงเทพมหานครยังกวาดต้อนชาวลาวเข้ามาตั้งรกรากในที่ราบสูงโคราช ผลทำให้[[หัวเมืองลาวอีสาน]]เพิ่มขึ้นประมาณ 40 เมืองซึ่งเกิดจากชาวลาวที่กวาดต้อนมา<ref name="Wyatt"/>{{rp|285–6}} ฝ่ายมลายูทางใต้ กรุงเทพมหานครปรับนโยบายเป็นให้เจ้ามลายูปกครองกันเองหลังเกิดกบฏขึ้น 2 ครั้งในปี 2374 และ 2381 จากนั้นในภูมิภาคดังกล่าวก็มีระเบียบและความมั่นคงพอสมควร<ref name="Wyatt"/>{{rp|287–9}} ฝ่ายทางตะวันออก กรุงเทพมหานครรบกับเวียดนามเพื่อแย่งชิงอิทธิพลเหนือกัมพูชาอีกครั้ง เรียก [[อานัมสยามยุทธ]] (2376–90) สุดท้ายทั้งสองตกลงกันโดยให้เจ้ากัมพูชาส่งเครื่องราชบรรณาการให้ทั้งสองอาณาจักร<ref name="Wyatt"/>{{rp|290–2}}
เส้น 150 ⟶ 152:
| align = right
| width = 120
| image1 = Field Marshal Plaek Phibunsongkhram (coloured version).jpg
| caption1 = <center>จอมพล<br />[[แปลก พิบูลสงคราม]]</center>
| image2 = Official portraits of Sarit Thanarat.jpg
เส้น 230 ⟶ 232:
{{รายการอ้างอิง|3}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== บทอ่านเพิ่มเติม ==
* {{cite book |author= กรมศิลปากร |title= ประวัติศาสตร์ชาติไทย |url= http://www.finearts.go.th/parameters/search/หนังสืออิเล็กทรอนิกส์/book/119.html |location= กรุงเทพ |publisher= บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำกัด |page= |date= 2558 |isbn= 9786162832253 }}