ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์แสนซ้าย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nubbkao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
 
== การสถาปนา ==
'''ราชวงศ์เทพวงศ์''' หรือ '''ราชวงศ์แพร่''' ได้สถาปนาขึ้นโดยพระยาเทพวงศ์ ปฐมราชวงศ์แห่งเจ้าผู้ครองนครแพร่ เชื้อสายเจ้าผู้ครองนคร 45 พระองค์สุดท้าย พระยาเทพวงศ์เป็นราชโอรสในพระยาแสนซ้าย เจ้าเมืองแพร่ พระยาเทพวงศ์ นี้เป็นเจ้าเมืองที่พูดจาไพเราะน่าฟัง พูดเก่ง พูดจาสิ่งใด ใครๆ ก็เชื่อฟังหมดจนชาวเมืองให้การเคารพนับถือ จึงตั้งสมญานามว่า "เจ้าหลวงลิ้นตอง" (ลิ้นทอง) จนถึงรัชสมัยของ [[เจ้าพิริยเทพวงษ์]] ปี พ.ศ. 2445 ได้เกิดความไม่สงบขึ้นในเมืองนครแพร่ โดยพวกไทใหญ่หรือเงี้ยวที่ได้เข้ามาอยู่อาศัยในเมืองนครแพร่ และทำมาหากินในการขุดพลอย ประเภทพลอยไพลิน ที่ตำบลบ่อแก้ว อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ในปัจจุบัน ได้ทำการก่อจลาจลในเมืองนครแพร่ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2445 จากเหตุการณ์ครั้งนี้ เจ้าหลวงนครแพร่ถูกกล่าวหาว่าคบกับพวกเงี้ยว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จึงโปรดให้ถอดจากยศตำแหน่ง ริบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งหมดคืน พระองค์จึงไปใช้ชีวิตบั้นปลายที่เมือง[[หลวงพระบาง]] [[ประเทศลาว]] และได้พำนักอยู่ที่นั่นจนกระทั่งแก่พิราลัย ในปี พ.ศ. 2455 แม้จนสุดท้ายแล้ว ถึงแม้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จะทรงพิโรธต่อการเรียกร้องความไม่เป็นธรรมของเจ้าหลวงเมืองแพร่อย่างไร พระองค์ก็ทรงออกมาปกป้องว่า เจ้าหลวงพิริยะเทพวงษ์นั้น แม้จะกลับมาชิงบ้านเมืองคืนจริง ก็ไม่ใช่ความคิดของเจ้าหลวงแต่เป็นนโยบายของฝรั่งเศส {{อ้างอิง}} พระองค์ทรงให้เจ้านายทายาทเจ้าหลวงอยู่อย่างสงบสุข ด้วยเจ้านายราชวงศ์จักรีที่ทรงวางใจคือ [[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] มือขวาของพระองค์นั่นเอง ส่วนเจ้านายที่ถูกคาดโทษพระองค์ก็ให้ทำหน้าที่ปราบโจรผู้ร้ายชดใช้
 
ราชสกุลผู้สืบเชื้อสายเจ้าผู้ครองนครแพร่ มีทั้งหมด 31 ราชสกุล ถึงไม่มีราชสกุล ณ แพร่ แต่รวมกันเรียกว่า '''วงศ์วรญาติ''' เทียบเท่าราชสกุล ณ เชียงใหม่ ณ ลำพูน ณ ลำปาง และ ณ น่าน ในหัวเมืองฝ่ายเหนือ
บรรทัด 27:
| 1 || [[พระยาแสนซ้าย ]]|| พ.ศ. 2330-ก่อน พ.ศ. 2348||
|-
| 2 || [[พระยาเทพวงศ์ ]]|| ก่อน พ.ศ. 2348-พ.ศ. 2359||
|-
| 3 ||[[พระยาอินทวิไชย]]|| พ.ศ. 2359-พ.ศ. 2390