ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มังกยอชวา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{ชื่ออื่น|||มังกะยอชวามังกยอชวา (แก้ความกำกวม)}}
{{Infobox royalty
| type =
| name = มังกะยอชวามังกยอชวา<br/> ({{lang-my-Mymr|မင်းကြီးစွာ}} ''มีนจีซวา'')
| image =
| caption =
| reign-type = {{Nowrap|ดำรงพระยศ}}
| reign = 15 ตุลาคม ค.ศ. 1581 – {{OldStyleDate|8 มกราคม|1593|29 ธันวาคม ค.ศ. 1592}}
| coronation =
| succession = [[รายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า|ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงของพม่าพระมหาอุปราชา]]
| predecessor = [[พระเจ้านันทบุเรง|มังเอิง]]
| successor = [[พระเจ้ามังรายกะยอชวาที่ 2 แห่งอังวะ|มังรายกะยอชวา]]
| suc-type = ต่อไป
| reg-type =
เส้น 19 ⟶ 21:
| father = [[พระเจ้านันทบุเรง]]
| mother = [[หงสาวดีมิบะยา]]
| birth_date = 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1558 <br> วันอาทิตย์ แรม 2 ค่ำ เดือน [[Nadawนะดอ]] 920 [[Burmese calendarปฏิทินพม่า|MEจ.ศ.]] 920
| birth_place = [[พะโค]], [[อาณาจักรตองอู]]
| death_date = {{OldStyleDate|8 มกราคม|ค.ศ.1593|29 ธันวาคม ค.ศ. 1592}} (34 พรรษา) <br> วันศุกร์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือน[[Tabodweดะโบ่-ดแว]] 954 ME
| death_place = [[จังหวัดสุพรรณบุรี]], [[อาณาจักรอยุธยา]]
| date of burial = กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1593 <br/> [[Tabaungดะบ้อง]] 954จ.ศ. ME954
| place of burial = [[พระราชวังกัมโพชธานี]]
| religion = [[เถรวาท|พุทธเถรวาท]]
| signature =
}}
'''มังกะยอชวาสามเกลียด'''<ref>''ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 64 พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 116''</ref> หรือ '''มังกยอชวา'''<ref>''พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงศรีอยุทธยา'', หน้า 85</ref> ({{lang-my|မင်းကြီးစွာ}}; [[อักษรโรมัน]]: Minyekyawswa,Mingyi Minchit SraSwa; ออกเสียง: ''เมงเยจอสวา''){{IPA-my|mɪ́ɴdʑí หรือ '''มังสามเกียด''' (ตามที่พงศาวดารไทยและพงศาวดารมอญเรียกswà|pron}}) เป็น[[รายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า|พระมหาอุปราชาหงสาวดี]] พระราชโอรสใน[[พระเจ้านันทบุเรง]] เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยโดยทรงนำทัพมาตีการทำสงครามหลายครั้งกับ[[กรุงศรีอยุธยา]]หลายครั้ง รวมถึงได้ทรงทำจนสวรรคตใน[[สงครามยุทธหัตถี]]กับ[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]
 
== พระราชประวัติ ==
=== วัยเยาว์ ===
มังกะยอชวาสามเกลียด หรือ มีนจีซวา เสด็จพระราชสมภพที่[[กรุงหงสาวดี|หงสาวดี]] พระราชประวัติเมื่อทรงพระเยาว์มีปรากฏใน' ''[[คำให้การชาวกรุงเก่า]]''' กับ '''[[คำให้การขุนหลวงหาวัด']]'' ว่าเดิมทรงมีความสนิทสนมกับพระนเรศวรดี ต่อมาได้มีการชนไก่ระหว่าง[[พระนเรศวร]]และมังกะยอชวา ไก่ของพระนเรศวรชนะไก่ของมังกะยอชวา มังกะยอชวาจึงกล่าววาจาเหยียดหยามพระนเรศวรทำให้พระนเรศวรรู้สึกเจ็บช้ำพระทัย
 
=== การเป็นพระมหาอุปราชา ===
เมื่อ [[พ.ศ. 2124]] ภายหลัง[[พระเจ้าบุเรงนอง]]เสด็จสวรรคต [[พระเจ้านันทบุเรง]]ได้ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ มังกะยอชวาสามเกลียดจึงได้รับการแต่งตั้งเป็นพระมหาอุปราชมังกะยอชวา หรือ พระมหาอุปราชานั่นเอง
 
=== ศึกเมืองคัง ===
ในปีที่พระเจ้านันทบุเรงขึ้นครองราชย์ เจ้าฟ้า[[เมืองคัง]]แข็งเมืองต่อ[[หงสาวดี|กรุงหงสาวดี]] พระเจ้านันทบุเรงจึงโปรดเกล้าฯให้ ให้พระนเรศวร [[พระสังขทัต]]และ และพระมหาอุปราชมังกะยอชวามหาอุปราชา ไปปราบเมืองคัง หลังจากการตกลงกันมังกะยอชวาจึงยกขึ้นไปตีเมืองคังเป็นพระองค์แรกในเดือน 5 ขึ้น 7 ค่ำ ตั้งแต่สี่ทุ่มแต่ไม่สำเร็จ จนรุ่งสางจึงต้องถอยทัพกลับ หลังจากนั้นสองวันพระนเรศวรทรงสามารถตีเมืองคังได้
 
=== กบฏพระเจ้าอังวะและการประกาศอิสรภาพของอยุธยา ===
ใน[[ พ.ศ. 2127]] พระเจ้าอังวะตะโดเมงสอพระเจ้าอังวะเป็นกบฏ มีการกล่าวกันว่าเพราะพระมหาอุปราชมหาอุปราชาวิวาทพระชายาซึ่งเป็นธิดาของตะโดเมงสอถึงขั้นทำร้ายตบตีกันจนเลือดตกยางออก ทำให้นางเอาผ้าซับเลือดแล้วใส่ผอบส่งไปให้พระบิดา ทำให้พระเจ้าอังวะแยกตัวออกจากหงสาวดี พระเจ้านันทบุเรงจึงยกทัพไปปราบด้วยพระองค์เอง ส่วนพระมหาอุปราชมังกะยอชวามหาอุปราชาได้อยู่รักษาพระนคร
 
พระนเรศวรได้ยกทัพตามไปช่วยปราบกบฏอังวะด้วยโดยยกไปช้าๆช้า ๆ ความตอนนี้ต่างกันในพงศาวดาร[[ไทย]]กับ[[พม่า]]
* '''พงศาวดารไทย''' กล่าวว่าพระมหาอุปราชาวางแผนประทุษร้ายพระนเรศวร ทำให้พระนเรศวรประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง และกวาดต้อนผู้คนก่อนจะหนีกลับกรุงศรีอยุธยา พระมหาอุปราชาจึงจัดทัพตามไป ให้สุรกำมาเป็นกองหน้า เมื่อสุรกำมาถูกพระนเรศวรยิงตายพระมหาอุปราชาจึงยกทัพกลับ
* '''พงศาวดารพม่า''' กล่าวว่าพระนเรศวรยกทัพมาถึงเมืองหงสาวดี พระมหาอุปราชาจึงมีรับสั่งให้พระนเรศวรเสด็จไปอังวะ แต่พระนเรศวรไม่ฟังและยกเข้ามาตีหงสาวดีและตั้งค่ายล้อมเมืองไว้ พระมหาอุปราชาจึงให้ทหารขึ้นประจำเชิงเทินกำแพงเมือง แต่เมืองรู้ข่าวว่าพระเจ้านันทบุเรงกำลังเสด็จกลับมา พระนเรศวรจึงกวาดต้อนผู้คนหนีกลับกรุงศรีอยุธยา
 
=== ศึกนันทบุเรง ===
[[พ.ศ. 2129]] พระเจ้านันทบุเรงยกทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยา พระมหาอุปราชมังกะยอชวามหาอุปราชาทรงยกทัพมาด้วยแล้วตั้งค่ายที่ทุ่งชายเคืองทางทิศตะวันออกของพระนคร ได้ทรงให้กองทัพม้าตีทัพพระยากำแพงเพชรที่มาป้องกันผู้คนที่ออกไปเกี่ยวข้าวแตกพ่าย การรบติดพันมาถึง [[พ.ศ. 2130]] พระเจ้านันทบุเรงจึงทรงยกทัพกลับ พระมหาอุปราชาก็ยกทัพกลับด้วย
 
=== พระมหาอุปราชาตีกรุงศรีอยุธยา ===
[[พ.ศ. 2133]] [[สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช]]เสด็จสวรรคต [[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช]]ขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อ พระเจ้านันทบุเรงจึงให้พระมหาอุปราชมังกะยอชวามหาอุปราชายกไปตีกรุงศรีอยุธยา แต่ก็เสียทีจนกองทัพแตกพ่ายจนพระองค์เกือบถูกจับได้ พระมหาอุปราชาเสด็จกลับถึงหงสาวดีเมื่อเดือน 5 [[พ.ศ. 2134]] ทรงถูกพระราชบิดาภาคทัณฑ์ให้ทำการแก้ตัวใหม่
 
=== สงครามยุทธหัตถี ===
[[ไฟล์:Seal Suphanburi.png|thumb|220px|right|[[ตราประจำจังหวัดของไทย|ตราประจำ]][[จังหวัดสุพรรณบุรี]]ในปัจจุบัน แสดงถึงสงครามยุทธหัตถีระหว่าง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช กับ พระมหาอุปราชมังกะยอชวามหาอุปราชา]]
พระเจ้านันทบุเรงจึงมีรับสั่งให้พระมหาอุปราชมังกะยอชวาไปตีกรุงศรีอยุธยาอีกครั้ง พระองค์เสด็จจากหงสาวดีเมื่อ [[วันพุธ]] [[เดือนอ้าย]] ขึ้น 7 ค่ำ ปีมะโรง [[พ.ศ. 2135]]
 
เช้าของวันจันทร์ แรม 2 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง พ.ศ. 2135 [[สมเด็จพระนเรศวร]]และ[[สมเด็จพระเอกาทศรถ]] ทรงช้างที่กำลังตกมัน ในระหว่างการรบจึงวิ่งไล่ตามพม่าหลงเข้าไปในแดนพม่า มีเพียงทหารรักษาพระองค์และจาตุรงค์บาทเท่านั้นที่ติดตามไปทันสมเด็จพระนเรศวรทอดพระเนตรเห็นพระมหาอุปราชาทรงพระคชสารอยู่ในร่มไม้กับเหล่าเท้าพระยา จึงทราบได้ว่าช้างทรงของสองพระองค์หลงถลำเข้ามาถึงกลางกองทัพ และตกอยู่ในวงล้อมข้าศึกแล้ว แต่ด้วยพระปฏิภาณไหวพริบของสมเด็จพระนเรศวร ทรงเห็นว่าเป็นการเสียเปรียบข้าศึกจึงไสช้างเข้าไปใกล้ แล้วตรัสถามด้วยคุ้นเคยมาก่อนแต่วัยเยาว์ว่า "พระเจ้าพี่เราจะยืนอยู่ใยในร่มไม้เล่า เชิญออกมาทำยุทธหัตถีด้วยกัน ให้เป็นเกียรติยศไว้ในแผ่นดินเถิด ภายหน้าไปไม่มีพระเจ้าแผ่นดินที่จะได้ยุทธหัตถีแล้ว" พระมหาอุปราชาได้ยินดังนั้น จึงไสช้างนามว่า พลายพัทธกอเข้าชนเจ้าพระยาไชยานุภาพเสียหลัก พระมหาอุปราชาทรงฟันสมเด็จพระนเรศวรด้วยพระแสงของ้าว แต่สมเด็จพระนเรศวรทรงเบี่ยงหลบทัน จึงฟันถูกพระมาลาหนังขาด จากนั้นเจ้าพระยาไชยานุภาพชนพลายพัทธกอเสียหลัก สมเด็จพระนเรศวรทรงฟันด้วยพระแสงของ้าวถูกพระมหาอุปราชาเข้าที่อังสะขวา สิ้นพระชนม์อยู่บนคอช้าง
 
แต่ในมหายาชะเวงหรือพงศาวดารของพม่า [[มหาราชวงศ์]]ระบุว่า การยุทธหัตถีครั้งนี้ ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรบุกเข้าไปในวงล้อมของฝ่ายพม่า ฝ่ายพม่าก็มีการยืนช้างเรียงเป็นหน้ากระดาน มีทั้งช้างของพระมหาอุปราชา ช้างของเจ้าเมืองชามะโรง ทหารฝ่ายสมเด็จพระนเรศวรก็ระดมยิงปืนใส่ฝ่ายพม่า เจ้าเมืองชามะโรงสั่งเปิดผ้าหน้าราหูช้างของตน เพื่อไสช้างเข้ากระทำยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรเพื่อป้องกันพระมหาอุปราชา แต่ปรากฏว่าช้างของเจ้าเมืองชามะโรงเกิดวิ่งเข้าใส่ช้างของพระมหาอุปราชาเกิดชุลมุนวุ่นวาย กระสุนปืนลูกหนึ่งของทหารฝ่ายสมเด็จพระนเรศวรก็ยิงถูกพระมหาอุปราชาสิ้นพระชนม์<ref>{{cite web|url=http://tvshow.tlcthai.com/คุณพระช่วย-21มิย57/|title=คุณพระช่วย|date=21 June 2014|accessdate=22 June 2014|publisher=ช่อง 9}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า]]
* [[พระเจ้านันทบุเรง]]
* [[พระเจ้าบุเรงนอง]]
* [[พระนเรศวรมหาราช]]
 
== อ้างอิง ==
{{commonscat|Mingyi Swa|มังกะยอชวาที่ 1 แห่งตองอู}}
; เชิงอรรถ
* '''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหมอบรัดเล'''. --กรุงเทพฯ : โฆษิต, 2549. ISBN 9749489993
* สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. '''ไทยรบพม่า เล่ม 1'''. --กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2546. ISBN 9744085347
* ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล. '''ตามรอยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช''' --กรุงเทพฯ : แพรวสำนักพิมพ์, 2549. ISBN 9748813045
{{รายการอ้างอิง}}
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ชื่อหนังสือ = ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 64 พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)| URL =http://www.car.chula.ac.th/rarebook/book2/clra57_0174_1/mobile/index.html| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร| ปี = 2479| จำนวนหน้า = 437| หน้า = 56-57}} [เจ้าภาพพิมพ์ในงานปลงศพ คุณหญิงปฏิภาณพิเศษ (ลมุน อมาตยกุล) ณ วัดประยุรวงศาวาส วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2479]
* {{อ้างหนังสือ| ชื่อหนังสือ = พงษาวดารเรื่องเรารบพม่า ครั้งกรุงศรีอยุทธยา| URL =http://dl.kids-d.org/bitstream/handle/123456789/HASH8b9ebb44f76e74a87816c2/doc.pdf?sequence=1| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์ไทย| ปี = 2463| จำนวนหน้า = 394| }} [พระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนกำแพงเพชรอรรคโยธินทร์ โปรดให้พิมพ์ครั้งแรกในงานพระราชทานเพลิงศพ เจ้าจอมมารดาวาดรัชกาลที่ ๕]
* ม.จ.ชาตรีเฉลิม ยุคล. '''ตามรอยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช''' --กรุงเทพฯ : แพรวสำนักพิมพ์, 2549. ISBN 9748813045
{{จบอ้างอิง}}
 
{{ตองอู}}
 
{{อายุขัย|2101|2135}}
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ตองอูพระมหาอุปราชาพม่า]]
[[หมวดหมู่:บุคคลในประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา]]