ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาตินิยม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Somsak Ung (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Vitthaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
 
{{Commons category|Nationalism}}
 
{{ปรัชญาสังคม}}
 
 
'''ลักษณะสำคัญของลัทธิชาตินิยม'''
 
                    ชาตินิยมมีความแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมและยุคสมัยดังกล่าวมาแล้ว การเกิดรัฐชาติของสเปนโดยกษัตริย์เฟอรดินานด์และพระราชินีอิซาเบลลาก็ต่างจากการเกิดขึ้นของสาธารณรัฐฝรั่งเศส อุดมคติความเป็นชาติของจีนสมัยเจียงไคเช็คก็ต่างกับสมัยเหมา เจ๋อ ตุง การเป็นชาติอิสระของเวียดนามก็ต่างกับการเป็นประชาธิปไตยของไทยในสมัยรัชกาลที่ 7 ชาตินิยมในแต่ละแห่งจึงมีลักษณะเฉพาะตัว จนดูเหมือนว่าจะหาลักษณะร่วมไม่ได้
 
         '''ฮันส์ โคห์น (Hans Kohn)''' ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับลักษณะร่วมของลัทธิชาตินิยมไว้ดังนี้
 
                  '''1. ความเป็นตัวของตัวเองทางวัฒนธรรม (Cultural selfdetermination)''' โคห์นเห็นว่าพวกชาตินิยมถือว่าความเป็นตัวของตัวเองหรือความเป็นเอกทางการเมือง (political self determination) นั่นเป็นเพียงส่วนของลัทธิชาตินิยม ความเป็นตัวของตัวเองทางวัฒนธรรมก็สำคัญพอๆกัน ดังเห็นได้ว่านับตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา พวกชาตินิยมมุ่งศึกษาหาความรู้และวัฒธรรมของชาติตนทั้งสิ้น กระบวนการนี้มาเสื่อมลงเมื่อวัฒนธรรมตะวันตกกลายเป็นวัฒนธรรมสากลมากขึ้น เช่นในเรื่องความรู้ทางวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี การจัดการศึกษา การทหาร การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจแบบตะวันตก เป็นต้น การที่ประเทศต่าง ๆ หันมาเปลี่ยนแปลงประเทศของตนให้เจริญแบบตะวันตก ทำให้ต้องศึกษาวัฒนธรรมตะวันตกและละเลยวัฒนธรรมประจำชาติ แม้แต่เรื่องภาษาซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นส่วนสำคัญที่ทำการตั้งรัฐชาติมั่นคง ในปัจจุบันนอกจากภาษาของชาติแล้วก็ยังต้องศึกษาของชาติอื่นซึ่งเป็นแหล่งวัฒนธรรม หรือเป็นแหล่งมหาอำนาจทางการเมืองดังที่ชาติส่วนใหญ่ต้องใช้ภาษาของชาติอื่น ในองค์การสหประชาชาติ เป็นต้น
 
         '''โคห์น'''ได้กล่าวถึงการแบ่งประเภทของลัทธิชาตินิยมของ '''วอลท์ วิทแมน (walt Whitman)''' ออกเป็น 2 ประเภทคือ ลัทธิชาตินิยมแบบเปิด ('''Open Nationalism''') กับ ลัทธิชาตินิยมแบบปิด ('''Closed Nationalism''') ลัทธิชาตินิยมแบบที่เน้นวัฒนธรรมประจำชาติ เน้นเชื้อชาติ และความสำคัญของชาติตนทางประวัติศาสตร์ เน้นความเป็นบรรพบุรุษเดียวกันสายเลือดและถิ่นกำเนิดเดียวกันซึ่งเป็นแบบที่พบเห็นกันมากนั้น  
 
'''วิทแมน'''เรียกว่าลัทธิชาตินิยมแบบปิดซึ่งมีลักษณะที่ไม่ยืดหยุ่น ไม่รับระบบคุณค่าใหม่ๆ ส่วนลัทธิแบบเปิดเน้นเพียงการมีอาณาเขตแน่นอน มีระบบการเมืองที่เป็นตัวของตัวเองโยไม่เน้นเชื้อชาติและการสืบสายโลหิต
 
         '''1. ความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติ''' ความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติเป็นลักษณะพื้นฐานประการหนึ่งที่พวกชาตินิยมใช้อ้างเป็นเหตุผลในการสร้างชาติมาตลอด ดังเช่นการรวมชาติยิวเป็นครั้งที่สองนั้น ชาติยิวไม่รับรองภรรยาชาวต่างชาติที่พวกยิวพามาและไม่รับรองบุตรอันเกิดจากภรรยาดังกล่าว การสร้างชาติเยอรมันในสมัยนาซีก็เน้นความเป็นอารยันบริสุทธิ์และให้สิทธิพิเศษเหนือกว่าพวกเลือดผสม ลัทธินิยมเชื้อชาตินี้ทำให้ความรู้สึกชาตินิยมรุนแรง ความเป็นเยอรมัน ความเป็นสลาฟ ความเป็นเซมิติก ความเป็นผิวขาว เหล่านี้ล้วนทำให้คนมีสำนึกในเรื่องเชื้อชาติซึ่งก่อให้เกิดลักษณะสำคัญประการต่อไปคือการถือว่าชาติของตนสูงสุด
 
         '''  2.การถือว่าชาติของตนสูงสุด''' การนิยมเชื้อชาติทำให้เกิดชาติขึ้น ชาติรวมกันด้วยความรู้สึกชาตินิยมยึดถือวัฒนธรรมร่วมกัน และมีอาณาเขตชัดเจน แต่ทว่าในทางปฏิบัติคนที่มีเชื้อชาติใกล้เคียวงเช่น จีนกับญวน มาเลเซียกับอินโดนีเซีย ลาวกับไทย ต่างก็แยกชาติของตนออกจากกันเด็ดขาดด้วยอาณาเขต และต่างฝ่ายมักอ้างสิทธิเหนือดินแดนส่วนที่ติดกับอีกฝ่ายหนึ่ง เกิดเป็นปัญหาพรมแดนขึ้น
 
       ในแง่บุคคล ชนกลุ่มน้อยซึ่งอยู่ในดินแดนที่มีชนกลุ่มอื่นเป็นส่วนใหญ่มักจะถูกกดขี่หรือดูหมิ่นจากคนส่วนใหญ่เนื่องจากมีเชื้อชาติต่างกัน และคนส่วนใหญ่เห็นว่าเชื้อชาติของตนสูงกว่า ทำให้เกิดการต่อสู้ทางเชื้อชาติขึ้น เช่นการต่อสู้ของชนกลุ่มน้อยชาวทมิฬในศรีลังกา การต่อสู้ของพวกเคิร์ดในอิหร่าน
 
'''ลักษณะพื้นฐานลัทธิชาตินิยม'''
 
1.สร้างความเป็นเอกภาพให้เกิดขึ้นในชาติ ทั้งในยามปกติและยามวิกฤต
 
2. สร้างเอกลักษณ์ของชาติเพื่อป้องกันการคุกคามจากต่างชาติ ในด้านต่าง ๆ
 
3. ควบคุมการขยายตัวของชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศ และรวมถึงชาวต่างชาติที่หลบหนีเข้าเมือง
 
4. สร้างกระแสการปกป้องผลประโยชน์ของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ ด้วยการต่อต้านแนวคิดการค้าเสรี{{ปรัชญาสังคม}}
 
[[หมวดหมู่:ชาตินิยม| ]]
เส้น 14 ⟶ 43:
[[หมวดหมู่:คตินิยมเชื้อชาติ]]
[[หมวดหมู่:การอพยพของมนุษย์]]
{{โครงการเมือง|ลักษณะสำคัญของลัทธิชาตินิยม=ชาตินิยมมีความแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมและยุคสมัยดังกล่าวมาแล้ว การเกิดรัฐชาติของสเปนโดยกษัตริย์เฟอรดินานด์และพระราชินีอิซาเบลลาก็ต่างจากการเกิดขึ้นของสาธารณรัฐฝรั่งเศส อุดมคติความเป็นชาติของจีนสมัยเจียงไคเช็คก็ต่างกับสมัยเหมา เจ๋อ ตุง การเป็นชาติอิสระของเวียดนามก็ต่างกับการเป็นประชาธิปไตยของไทยในสมัยรัชกาลที่ 7 ชาตินิยมในแต่ละแห่งจึงมีลักษณะเฉพาะตัว จนดูเหมือนว่าจะหาลักษณะร่วมไม่ได้
{{โครงการเมือง}}
ฮันส์ โคห์น (Hans Kohn) ได้เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับลักษณะร่วมของลัทธิชาตินิยมไว้ดังนี้
1. ความเป็นตัวของตัวเองทางวัฒนธรรม (Cultural selfdetermination) โคห์นเห็นว่าพวกชาตินิยมถือว่าความเป็นตัวของตัวเองหรือความเป็นเอกทางการเมือง (political self determination) นั่นเป็นเพียงส่วนของลัทธิชาตินิยม ความเป็นตัวของตัวเองทางวัฒนธรรมก็สำคัญพอๆกัน ดังเห็นได้ว่านับตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา พวกชาตินิยมมุ่งศึกษาหาความรู้และวัฒธรรมของชาติตนทั้งสิ้น กระบวนการนี้มาเสื่อมลงเมื่อวัฒนธรรมตะวันตกกลายเป็นวัฒนธรรมสากลมากขึ้น เช่นในเรื่องความรู้ทางวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี การจัดการศึกษา การทหาร การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจแบบตะวันตก เป็นต้น การที่ประเทศต่าง ๆ หันมาเปลี่ยนแปลงประเทศของตนให้เจริญแบบตะวันตก ทำให้ต้องศึกษาวัฒนธรรมตะวันตกและละเลยวัฒนธรรมประจำชาติ แม้แต่เรื่องภาษาซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นส่วนสำคัญที่ทำการตั้งรัฐชาติมั่นคง ในปัจจุบันนอกจากภาษาของชาติแล้วก็ยังต้องศึกษาของชาติอื่นซึ่งเป็นแหล่งวัฒนธรรม หรือเป็นแหล่งมหาอำนาจทางการเมืองดังที่ชาติส่วนใหญ่ต้องใช้ภาษาของชาติอื่น ในองค์การสหประชาชาติ เป็นต้น
โคห์นได้กล่าวถึงการแบ่งประเภทของลัทธิชาตินิยมของ วอลท์ วิทแมน (walt Whitman) ออกเป็น 2 ประเภทคือ ลัทธิชาตินิยมแบบเปิด (Open Nationalism) กับ ลัทธิชาตินิยมแบบปิด (Closed Nationalism) ลัทธิชาตินิยมแบบที่เน้นวัฒนธรรมประจำชาติ เน้นเชื้อชาติ และความสำคัญของชาติตนทางประวัติศาสตร์ เน้นความเป็นบรรพบุรุษเดียวกันสายเลือดและถิ่นกำเนิดเดียวกันซึ่งเป็นแบบที่พบเห็นกันมากนั้น
วิทแมนเรียกว่าลัทธิชาตินิยมแบบปิดซึ่งมีลักษณะที่ไม่ยืดหยุ่น ไม่รับระบบคุณค่าใหม่ๆ ส่วนลัทธิแบบเปิดเน้นเพียงการมีอาณาเขตแน่นอน มีระบบการเมืองที่เป็นตัวของตัวเองโยไม่เน้นเชื้อชาติและการสืบสายโลหิต
1. ความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติ ความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติเป็นลักษณะพื้นฐานประการหนึ่งที่พวกชาตินิยมใช้อ้างเป็นเหตุผลในการสร้างชาติมาตลอด ดังเช่นการรวมชาติยิวเป็นครั้งที่สองนั้น ชาติยิวไม่รับรองภรรยาชาวต่างชาติที่พวกยิวพามาและไม่รับรองบุตรอันเกิดจากภรรยาดังกล่าว การสร้างชาติเยอรมันในสมัยนาซีก็เน้นความเป็นอารยันบริสุทธิ์และให้สิทธิพิเศษเหนือกว่าพวกเลือดผสม ลัทธินิยมเชื้อชาตินี้ทำให้ความรู้สึกชาตินิยมรุนแรง ความเป็นเยอรมัน ความเป็นสลาฟ ความเป็นเซมิติก ความเป็นผิวขาว เหล่านี้ล้วนทำให้คนมีสำนึกในเรื่องเชื้อชาติซึ่งก่อให้เกิดลักษณะสำคัญประการต่อไปคือการถือว่าชาติของตนสูงสุด
2.การถือว่าชาติของตนสูงสุด การนิยมเชื้อชาติทำให้เกิดชาติขึ้น ชาติรวมกันด้วยความรู้สึกชาตินิยมยึดถือวัฒนธรรมร่วมกัน และมีอาณาเขตชัดเจน แต่ทว่าในทางปฏิบัติคนที่มีเชื้อชาติใกล้เคียวงเช่น จีนกับญวน มาเลเซียกับอินโดนีเซีย ลาวกับไทย ต่างก็แยกชาติของตนออกจากกันเด็ดขาดด้วยอาณาเขต และต่างฝ่ายมักอ้างสิทธิเหนือดินแดนส่วนที่ติดกับอีกฝ่ายหนึ่ง เกิดเป็นปัญหาพรมแดนขึ้น
ในแง่บุคคล ชนกลุ่มน้อยซึ่งอยู่ในดินแดนที่มีชนกลุ่มอื่นเป็นส่วนใหญ่มักจะถูกกดขี่หรือดูหมิ่นจากคนส่วนใหญ่เนื่องจากมีเชื้อชาติต่างกัน และคนส่วนใหญ่เห็นว่าเชื้อชาติของตนสูงกว่า ทำให้เกิดการต่อสู้ทางเชื้อชาติขึ้น เช่นการต่อสู้ของชนกลุ่มน้อยชาวทมิฬในศรีลังกา การต่อสู้ของพวกเคิร์ดในอิหร่าน|ลักษณะพื้นฐานลัทธิชาตินิยม=1.สร้างความเป็นเอกภาพให้เกิดขึ้นในชาติ ทั้งในยามปกติและยามวิกฤต
2. สร้างเอกลักษณ์ของชาติเพื่อป้องกันการคุกคามจากต่างชาติ ในด้านต่าง ๆ
3. ควบคุมการขยายตัวของชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศ และรวมถึงชาวต่างชาติที่หลบหนีเข้าเมือง
4. สร้างกระแสการปกป้องผลประโยชน์ของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ ด้วยการต่อต้านแนวคิดการค้าเสรี}}