ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เม่นทะเล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 37:
เช่นเดียวกับเอไคโนเดิร์มอื่น ๆ เม่นทะเลจะมีลักษณะลำตัวสมมาตรห้าชั้น (fivefold symmetry) เมื่อโตเต็มที่ แต่ตัวอ่อนมีลักษณะสมมาตร 2 ด้าน (bilateral symmetry) แสดงถึงการเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีร่างกายแบบ[[ไบลาทีเรีย]] กลุ่มของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมขนาดใหญ่อันประกอบไปด้วยไฟลัม[[สัตว์มีแกนสันหลัง]], [[สัตว์ขาปล้อง]], [[สัตว์พวกหนอนปล้อง]] และ[[มอลลัสกา]] ซึ่งมีแหล่งอาศัยอยู่ในทุกมหาสมุทรตั้งแต่แถบ[[เส้นศูนย์สูตร]]ถึงขั้วโลก อาศัยอยู่บนพื้นมหาสมุทรตั้งแต่ชายฝั่งถึงก้นมหาสมุทร ฟอสซิสของเอไคนอยถูกค้นพบย้อนกลับไปถึง[[ยุคออร์โดวิเชียน]] (450 ล้านปีที่แล้ว) มีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกับสัตว์ในกลุ่มเอไคโนเดิร์มด้วยกันคือ [[ปลิงทะเล]] โดยทั้งคู่จัดเป็นสัตว์ประเภท deuterostomes (ปากกับทวารอยู่คนละด้าน) จัดว่ามีบรรพบุรุษร่วมกันกับ[[สัตว์มีแกนสันหลัง]]
 
เม่นทะเลถูกศึกษามาตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 โดยใช้เป็น[[สิ่งมีชีวิตตัวแบบ]]ในสาขาวิชา[[ชีววิทยาการเจริญ]] เนื่องจากตัวอ่อนของเม่นทะเลง่ายต่อการสังเกตการณ์ และมีการศึกษา[[จีโนม]]ของลักษณะลำตัวห้าสมมาตรห้าชั้น (fivefold symmetry) และความสัมพันธ์กับ[[สัตว์มีแกนสันหลัง]] เม่นทะเลหนามดินสอเป็นที่นิยมในวงการปลาทะเลสวยงามเนื่องจากความสามารถในการควบคุมปริมาณ[[สาหร่าย]] ฟอสซิสของเม่นทะเลยังใช้ทำ[[เครื่องราง]]ป้องกันภัยด้วย{{รอการตรวจสอบ}}
 
== อ้างอิง ==