ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กาพย์ยานี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 9047872 สร้างโดย 203.150.120.22 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
 
บรรทัด 36:
 
กวีอาจเพิ่มความไพเราะของกาพย์ยานีด้วยการเพิ่มสัมผัสระหว่างวรรคที่ 3 กับวรรคที่ 4 ก็ได้ ดังตัวอย่าง
 
{{เริ่มกาพย์}}
{{กาพย์ยานี|indent=1|๏ ฟังแฮทชีพราหมณ์ |เขาเขียวงามทั้งแท่งทงัน |ไม่ไล่ช่อแชรง'''กัน''' |ต่างต่าง'''พรรณ'''ไขขจร}}
{{กาพย์ยานี|indent=1|๏ มีนามแต่อาทิ์ |คนธมาทน์ศิขร |ที่ใดท่านภู'''ธร''' |แพศยัน'''คร'''ราชา
| ที่มา=มหาชาติคำหลวง กัณฑ์มหาพน}}
{{จบกาพย์}}
 
== พัฒนาการของกาพย์ยานี ==
เส้น 57 ⟶ 63:
{{จบกาพย์}}
 
[[อาณาจักรอยุธยา|สมัยอยุธยา]]ยุคกลางและยุคปลายได้เพิ่มสัมผัสระหว่างวรรคแรกกับวรรคที่ 2 แล้ว ต่อมา [[เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร]] กวีผู้ชำนาญเชิงกาพย์ ทรงเพิ่มสัมผัสสระในคำที่ 2 - 3 วรรคแรก และคำที่ 3 - 4 ในวรรคหลัง อย่างเป็นระบบ ทำให้จังหวะอ่านรับกันเพิ่มความไพเราะมากขึ้น<ref name=supaporn/> และส่งอิทธิพลมาถึงกวีสมัยรัตนโกสินทร์ ตลอดถึงสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]<ref name="komtuan">คมทวน คันธนู. '''ตำนานฉันทลักษณ์กับหลักการใหม่'''. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2545.</ref> ดังตัวอย่าง
 
{{เริ่มกาพย์}}