ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮะรอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{About||คำศัพท์ภาษาอาหรับที่แปลว่า "สถานที่ศักดิ์สิทธิ์"|ฮะรอม (สถานที่)|การใช้แบบอื่น|ฮะรอม (แก้ความกำกวม)}}
{{Distinguish|ฮาเร็ม (แก้ความกำกวม)|เฮเร็ม (แก้ความกำกวม)}}
'''ฮะรอม''' ({{lang-ar|حَرَام}}, {{IPA-ar|ħaˈraːm|}}) เป็นคำศัพท์ภาษาอาหรับที่แปลว่า ''ต้องห้าม''<ref name="Modarresi">{{cite book|author=Mohammad Taqi al-Modarresi|authorlink=Mohammad Taqi al-Modarresi|title=The Laws of Islam|date=26 March 2016|publisher=Enlight Press|isbn=978-0994240989|url=http://almodarresi.com/en/books/pdf/TheLawsofIslam.pdf|accessdate=22 December 2017|ref=Modarresi|language=Englishen}}</ref>{{rp|471}} ซึ่งอาจอิงถึง: บางสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ห้ามผู้คนที่ยังไม่บริสุทธิ์หรือเป็นสิ่งชั่วร้ายที่ "การกระทำมันถือเป็นสิ่งที่ต้องห้าม" ใน[[ฟิกฮ์|นิติศาสตร์อิสลาม]] ฮะรอมถือเป็นการกระทำที่ห้ามโดย[[อัลลอฮ์]]และเป็นหนึ่งในห้า[[อะฮ์กาม|ข้อบัญญัติอิสลาม]] ({{rtl-lang|ar|الأحكام الخمسة}}, ''อัลอะฮ์กามุลค็อมซะฮ์'') ที่เป็นตัวกำหนดศีลธรรมของมนุษย์<ref name="Adamec 2009 102">{{cite book|last=Adamec|first=Ludwig|title=Historical Dictionary of Islam, 2nd Edition|url=https://archive.org/details/historicaldictio00adam_560|url-access=limited|year=2009|publisher=Scarecrow Press, Inc|location=Lanham|isbn=9780810861619|page=[https://archive.org/details/historicaldictio00adam_560/page/n156 102]}}</ref>
 
การกระทำที่เป็นฮะรอมมักถูกห้ามในคำภีร์[[กุรอาน]]และ[[ซุนนะฮ์]] ถือเป็นสิ่งที่ต้องห้ามสูงสุด ถ้าบางสิ่งถือว่าเป็นฮะรอม มันก็คงเป็นเช่นนั้นโดยไม่สำคัญว่าจะมีเจตนาที่ดีหรือจุดประสงค์ที่น่ายกย่องแค่ไหนก็ตาม<ref>{{cite book|last=Al-Qardawi|first=Yusuf|title=The Lawful and the Prohibited in Islam|year=1999|publisher=American Trust Publications|page=26}}</ref> ''ฮะรอม'' จะถูกแปลงเป็นวัตถุโน้มถ่วงในวันพิพากษา ซึ่งจะถูกตั้งบน[[มีซาน]] (ตาชั่ง).<ref>American-Arab Message – p. 92, Muhammad Karoub – 2006</ref><ref>The Holy City: Jerusalem in the theology of the Old Testament – p. 20, Leslie J. Hoppe – 2000</ref> และแต่ละ[[มัซฮับ]]มีมุมมองกับสิ่งที่เป็นฮะรอมไม่เหมือนกัน<ref>The Palgrave Handbook of Spirituality and Business – p. 142, Professor Luk Bouckaert, Professor Laszlo Zsolnai – 2011</ref>
บรรทัด 22:
# {{lang|ar|الحرام لذاته}} (''อัลฮะรอม ลิซาติฮ'') – การห้ามเพราะแก่นแท้ของมันและก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคลนั้น
#* [[การทำชู้]], ฆาตกรรม, โจรกรรม
# {{lang|ar|الحرام لغيره}} (''อัลฮะรอม ลิฆ็อยริฮ'') – ถูกห้ามเพราะเหตุผลภายนอกที่ไม่ค่อยมีพิษภัย แต่มีส่วนกับสิ่งที่ต้องห้าม<ref>{{cite journal|lastauthor1=Mohammad Mahbubi Ali|first=Mohammad|author2=Lokmanulhakim Hussain|title=A Framework of Income Purification for Islamic Financial Institutions|journal=Proceeding of Sharia Economics Conference|date=9 February 2013|page=109}}</ref>
#* ทรัพยสินที่ได้มาจากการทุจริต เช่น เงินที่ได้จากการโกง, การขโมย, ทุจริต, ฆาตกรรม และดอกเบี้ย หรืออะไรก็ตามที่ทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฮะรอม"