ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 563:
{{บทความหลัก|เศรษฐกิจกัมพูชา}}
[[ไฟล์:Cambodia, Trends in the Human Development Index 1970-2010.png|thumb|[[ดัชนีการพัฒนามนุษย์]]ของกัมพูชา จากปี ค.ศ. 1970–2010]]
[[File:Phnom Penh Evening Aerial View.png|thumb|right|350px|'''[[พนมเปญ|ราชธานีพนมเปญ]] ''', เมืองหลวงและศูนย์กลางเศรษฐกิจในพระราชอาณาจักร]]
[[ไฟล์:Battambang Provinz 01.jpg|thumb|ชาวนาเก็บเกี่ยวข้าวในจังหวัด[[พระตะบอง]]]]
[[File:Russian Blvd, P.P..JPG|thumb|300px|ถนนแห่งหนึ่งใน[[พนมเปญ|ราชธานีพนมเปญ]]]]
[[ไฟล์:Siem reap airport.JPG|thumb|[[ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ]]]]
'''พระราชอาณาจักรกัมพูชา''' ใช้สกุลเงิน '''[[เรียล|เรียลเขมร]]''' เป็นหน่วยสกุลเงินประจำชาติ
[[ไฟล์:SKYLINE.OF.PHNOM.PENH.OLYMPIC.jpg|thumb|สิ่งก่อสร้างสมัยใหม่ ใน[[พนมเปญ]]]]
 
เศรษฐกิจในพระราชอาณาจักรได้รับการชี้นำและบริหารโดยรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเศรษฐกิจและการคลังกัมพูชา|กระทรวงเศรษฐกิจและพระคลัง]] คือ '''ดร. [[หลวงเศรษฐการ อุน พรมนนิโรธ]]''' อุนพรมนนิโรธได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงเศรษฐกิจตั้งแต่ปี ค.ศ. 2013
[[ธนาคารแห่งชาติกัมพูชา|ธนาคารแห่งชาติพระราชอาณาจักรกัมพูชา]]เป็นธนาคารกลางของพระราชอาณาจักรและให้การกำกับดูแลภาคการธนาคารของประเทศและรับผิดชอบส่วนหนึ่งในการเพิ่มการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศ ระหว่างปี ค.ศ. 2010 ถึง ค.ศ. 2012 จำนวนธนาคารที่อยู่ภายใต้การควบคุมและสถาบันการเงินขนาดเล็กเพิ่มขึ้นจาก 31 หน่วยงานที่ครอบคลุมเป็นสถาบันมากกว่า 70 แห่งซึ่งเป็นตัวบ่งชี้การเติบโตในภาคการธนาคารและการเงินของกัมพูชา
 
เศรษฐกิจในพระราชอาณาจักรกัมพูชาที่สำคัญประกอบไปด้วย
# เกษตรกรรม อยู่บริเวณที่ราบภาคกลาง รอบทะเลสาบเขมร พืชที่สำคัญคือ ข้าวเจ้า ยางพารา พริกไทย
# การประมง บริเวณรอบทะเลสาบเขมร เป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่สำคัญที่สุดในภูมิภาค
เส้น 576 ⟶ 581:
 
แต่การพัฒนาเศรษฐกิจของกัมพูชาได้เติบโตอย่างช้า ๆ โดยเฉพาะในช่วงปี 2540-2541 กัมพูชาต้องเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย และความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ ส่งผลให้นักลงทุนต่างประเทศถอนตัวออกจากประเทศกัมพูชา ส่งผลให้การฟื้นฟูบูรณะและการพัฒนาประเทศเป็นไปอย่างล่าช้า แต่หลังจากปี 2542 สถานการณ์การเมืองกัมพูชาเริ่มมีความมั่นคงพอสมควร และนับเป็นปีแรกที่กัมพูชามีสันติภาพอย่างแท้จริง เพราะปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองภายในหมดไป ปัจจุบัน กัมพูชากำลังพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (ตุลาคม 2543 - กันยายน 2548) ทั้งนี้เพื่อให้อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ในเกณฑ์ร้อยละ 6-7 ต่อปี ภาวะเศรษฐกิจของกัมพูชาในอดีตที่ผ่านมาสามารถสรุปได้ดังนี้
[[ไฟล์:Battambang Provinz 01.jpg|thumb|ชาวนาเก็บเกี่ยวข้าวในจังหวัด[[พระตะบอง]]]]
 
[[ไฟล์:Siem reap airport.JPG|thumb|[[ท่าอากาศยานนานาชาติเสียมราฐ]]]]
สินค้าเกษตรกรรมถือว่าเป็นแหล่งรายได้หลักของประเทศประมาณร้อยละ 43 ของ GDP มาจากข้าวและปศุสัตว์ ส่วนการประมงและป่าไม้มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 5 สินค้าเกษตรที่ส่งออกได้แก่ข้าว ไม้ และยางพารา รองลงมาได้แก่ ข้าวโพด ถั่วเหลือง สัตว์มีชีวิต ผลไม้ และปลา เป็นต้น ทั่วไปกัมพูชามีสินค้าส่งออกที่สำคัญได้แก่ เสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่ม ไม้ ยางพารา ข้าว และปลา สินค้านำเข้าที่สำคัญได้แก่ผลิตภัณฑ์น้ำมันเชื้อเพลิง บุหรี่ ทอง วัสดุก่อสร้าง เครื่องจักรและเครื่องยนต์