ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแบ่งแยกนิวเคลียส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
ฟิชชันเป็นรูปแบบหนึ่งของการแปลงพันธ์นิวเคลียส ({{lang-en|nuclear transmutation}}) เพราะชิ้นส่วนที่แตกออกไม่ได้มีองค์ประกอบทางเคมีเดียวกันกับอะตอมเดิม ทั้งสองนิวเคลียสที่ถูกผลิตส่วนใหญ่มักจะมีขนาดเทียบเคียงกันแต่แตกต่างกันเล็กน้อย โดยทั่วไปมักจะมีอัตราส่วนมวลของผลิตภัณฑ์อยู่ที่ประมาณ 3 ต่อ 2 สำหรับ[[ไอโซโทป]]ของ[[วัสดุฟิสไซล์]]ธรรมดา<ref>{{cite book | author = M. G. Arora and M. Singh| year = 1994 | title = Nuclear Chemistry | page = 202 | publisher = Anmol Publications | isbn = 81-261-1763-X | url = http://books.google.com/books?id=G3JA5pYeQcgC&pg=PA202}}</ref><ref>{{cite book|author=Gopal B. Saha|title=Fundamentals of Nuclear Pharmacy|url=http://books.google.com/books?id=bEXqI4ACk-AC&pg=PA11|date=1 November 2010|publisher=Springer|isbn=978-1-4419-5860-0|pages=11–}}</ref> ฟิชชันส่วนใหญ่จะเป็นฟิชชันแบบไบนารี (ผลิตชิ้นแตกที่มีประจุสองชิ้น) แต่ในบางครั้ง (2-4 ครั้งต่อหนึ่งพันเหตุการณ์) ชิ้นแตกที่มีประจุบวก 3 ชิ้นถูกผลิตออกมาในการหลอมที่เรียกว่าฟิชชันสามชิ้น ({{lang-en|ternary fission}}) ชิ้นแตกที่เล็กที่สุดในกระบวนการฟิชชันสามชิ้นเหล่านี้มีขนาดในช่วงตั้งแต่โปรตอนจนถึงนิวเคลียสของอาร์กอน
 
นอกเหนือไปจากฟิชชันที่เกิดจากนิวตรอน ควบคุมและใช้ประโยชน์โดยมนุษย์แล้ว รูปแบบโดยธรรมชาติของ[[การสลายกัมมันตรังสี]]ที่เกิดขึ้นเอง (ไม่ต้องใช้นิวตรอน) จะยังถูกเรียกว่าฟิชชันเช่นกัน และมันเกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในไอโซโทปที่มี[[เลขมวล]]สูงมาก [[ฟิชชันเกิดเอง]] ถูกค้นพบในปี 1940 โดย Flyorov, Petrzhak และ Kurchatov<ref name="PetrzhakChapter" /> ในมอสโก เมื่อพวกเขาได้ตัดสินใจที่จะยืนยันว่า โดยไม่ต้องมีการระดมยิงด้วยนิวตรอน อัตราการเกิดฟิชชันของยูเรเนียมจะเล็กน้อยจนไม่ต้องนำมาคำนวณได้ ตามที่ได้คาดการณ์โดย Niels Bohr; มันไม่ได้เป็นเช่นนั้น<ref name="PetrzhakChapter">{{cite book |last=Петржак |first=Константин | author-link=Konstantin Petrzhak |editor-last=Черникова |editor-first=Вера | trans-title=Brief Moment of Triumph — About making scientific discoveries |title=Краткий Миг Торжества — О том, как делаются научные открытия |publisher=Наука |date=1989 |pages=108–112 | trans-chapter=How spontaneous fission was discovered |chapter=Как было открыто спонтанное деление | language=Russianru |isbn=5-02-007779-8}}</ref>
 
[[ไฟล์:Comparative nuclear fireball sizes.svg|thumb|เมฆเห็ดที่ผลิตโดย[[ซาร์บอมบา]], ขณะนี้มันเป็นอุปกรณ์นิวเคลียร์ที่ใหญ่ที่สุดที่มนุษย์เคยสร้างขึ้นในประวัติศาสตร์ เทียบกับเมฆเห็ดอื่น ๆ ของอุปกรณ์นิวเคลียร์ชนิดต่างๆ จะเห็นระเบิดปรมาณูที่ฮิโระชิมะที่มีขนาดเล็กมาก]]