ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุลักษณ์ ศิวรักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
rewrite
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
| image = ไฟล์:Sulak_siwarak01.jpg
| image_size = 220px
| alt =
| altcaption = ส. ศิวรักษ์ ในการบรรยายที่[[พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก]] บางรักพ.ศ. 2552
| caption =
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2476|3|27}}<ref>http://www.npf.or.jp/pdf/grant/2011/biography_e.pdf</ref>
| birth_place = [[กรุงเทพมหาจังหวัดพระนคร]] ประเทศสยาม
| death_date =
| death_place =
| alma_mater = ''University of Wales'' <br> ''The Middle Temple Bar Law Association''
| other_names =
| known_for = ส.ศิวรักษ์
| occupation = นักวิชาการอิสระ, นักเขียน
| spouse = นิลฉวี ศิวรักษ์
| children = 3 คน
บรรทัด 25:
== ประวัติ ==
สุลักษณ์เกิดเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2476 ที่[[กรุงเทพมหานคร]] มีชื่อเล่นว่า แป๊ะ หรือ เหม่ เป็นบุตรคนเดียวของเฉลิม และสุพรรณ สมรสกับนิลฉวี มีบุตร 1 คน ธิดา 2 คน
 
*การศึกษา พ.ศ. 2495 จบชั้นมัธยมปีที่ 8 จาก[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] บางรัก ซึ่งเป็นโรงเรียนคาทอลิก โดยเข้าเรียนครั้งแรกในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในปี พ.ศ. 2486 แล้วต้องพักการเรียน เพราะภัยจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เกือบ 3 ปี ในระหว่างนี้ จึงได้บรรพชาเป็นสามเณรที่[[วัดทองนพคุณ กรุงเทพมหานคร]] อันเป็นช่วงที่ได้รับประสบการณ์จากระบบการศึกษาในวัด แล้วกลับมาศึกษาต่อที่โรงเรียนอัสสัมชัญในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในปี พ.ศ. 2489 จนสำเร็จการศึกษา, พ.ศ. 2500 สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านปรัชญาประวัติศาสตร์และ[[วรรณคดี]] จากมหาวิทยาลัยแห่งเวลส์ เมืองแลมปีเตอร์ (University of Wales, Lampeter) ใน[[เวลส์|แคว้นเวลส์]] สหราชอาณาจักร, พ.ศ. 2503 สำเร็จการศึกษาและสอบเป็น[[เนติบัณฑิต]]อังกฤษ จากสำนักเดอะมิดเดิ้ล เทมเปิล (The Middle Temple Bar Law Association )
 
=== การเมือง ===
สุลักษณ์เป็นที่ปรึกษา[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]<ref>http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9490000018171</ref>ในปี พ.ศ. 2549 หลัง[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557]]
ในวันที่ 1 กันยายน 2557 สุลักษณ์ ศิวรักษ์ให้สัมภาษณ์รายการ "คืนความจริง" ว่า มาตราดังกล่าวเป็นเครื่องมือของทุกรัฐบาลเพื่อกดขี่ราษฎร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวว่า การจับคนเรื่องหมิ่นพระบรมเดชานุภาพทุกครั้งเป็นการรังแกพระองค์ และทำลายสถาบันพระมหากษัตริย์ ทุกรัฐบาลที่อ้างว่าจงรักภักดี ลึก ๆ แล้วไม่จงรัก และยกตัวอย่าง[[จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี]]ซึ่งจับคนข้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพมากที่สุด แล้วสถาบันพระมหากษัตริย์ของเยอรมนีก็สิ้นไปก่อนพระองค์สวรรคตเสียอีก สุลักษณ์ว่าเขาเสียใจที่ไม่มีปัญญาชนเห็นโทษของกฎหมายนี้ ไม่เห็นหัวใจของเสรีภาพ ไม่เห็นหัวใจของประชาธิปไตย ไม่เห็นหัวใจของความเป็นมนุษย์เป็นลำดับ เป็นปศุสัตว์เชื่อง ๆ ให้ใครเขาสั่งได้ ต่อมาในวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พนักงานสอบสวน สน.ชนะสงครามกล่าวหาเขาว่าทำผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 และมีมติฟ้องร้องเขาต่อ ศาลทหารกรุงเทพ ในความผิดฐานหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย์<ref>[http://www.bbc.com/thai/thailand-41548797 ส.ศิวรักษ์ ยึดหลักอุเบกขา หลังถูกตั้งข้อหา ม. 112]</ref>ต่อมาอัยการทหารไม่สั่งฟ้อง
{{โครงส่วน}}
 
=== การศึกษา ===
* พ.ศ. 2495 จบชั้นมัธยมปีที่ 8 จาก[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] บางรัก ซึ่งเป็นโรงเรียนคาทอลิก โดยเข้าเรียนครั้งแรกในชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในปี พ.ศ. 2486 แล้วต้องพักการเรียน เพราะภัยจาก[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เกือบ 3 ปี ในระหว่างนี้ จึงได้บรรพชาเป็นสามเณรที่[[วัดทองนพคุณ กรุงเทพมหานคร]] อันเป็นช่วงที่ได้รับประสบการณ์จากระบบการศึกษาในวัด แล้วกลับมาศึกษาต่อที่โรงเรียนอัสสัมชัญในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในปี พ.ศ. 2489 จนสำเร็จการศึกษา
* พ.ศ. 2500 สำเร็จการศึกษาปริญญาตรีทางด้านปรัชญาประวัติศาสตร์และ[[วรรณคดี]] จากมหาวิทยาลัยแห่งเวลส์ เมืองแลมปีเตอร์ (University of Wales, Lampeter) ใน[[เวลส์|แคว้นเวลส์]] สหราชอาณาจักร
* พ.ศ. 2503 สำเร็จการศึกษาและสอบเป็น[[เนติบัณฑิต]]อังกฤษ จากสำนักเดอะมิดเดิ้ล เทมเปิล (The Middle Temple Bar Law Association )
 
=== ครอบครัว ===