ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตราแผ่นดินของลาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ทบทวนการเปลี่ยนแปลงของคุฌ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แก้ไขลิงก์เสียในส่วนอ้างอิง
บรรทัด 23:
'''ตราแผ่นดินลาว''' แบบปัจจุบันเป็นตราของ[[สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว]]ที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ [[พ.ศ. 2534]] หลังจากการใช้นโยบายจินตนาการใหม่ มีลักษณะตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หมวดที่ 10 มาตราที่ 90 ไว้ว่า :-
 
:''"เครื่องหมายชาติของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเป็นรูปวงกลม ด้านล่างมีรูปครึ่งกงจักรเป็นฟันเฟืองและโบว์อักษร "สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว" ([[ภาษาลาว|ลาว]]: "ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ") สองข้างล้อมด้วยรวงข้าวสุกเป็นรูปวงพระจันทร์และโบว์สีแดงเขียนอักษร "สันติภาพ เอกราช ประชาธิปไตย เอกภาพ วัฒนาถาวร ([[ภาษาลาว|ลาว]]: "ສັນຕິພາບ ເອກກະລາດ ປະຊາທິປະໄຕ ເອກະພາບ ວັດທະນາຖາວອນ") ระหว่างกลางของสองปลายรวงข้าวมีรูป[[พระธาตุหลวง]] อยู่กลางรูปวงกลมมีหนทาง ทุ่งนา ป่าไม้ และเขื่อนไฟฟ้าน้ำตก"''<ref>[{{Cite web|url=http://www.smepdo.org/lao/law_regulations/lao_consititution/part10.html |script-work=lo:ລັດຖະທຳມະນູນ ແລະກົດລະບຽບແຫ່ງຊາດ |trans-work=รัฐธรรมนูญและกฎระเบียบแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวชาติ |script-title=lo:ໝວດທີ່ X ພາສາ, ອັກສອນ, ເຄື່ອງໝາຍຊາດ, ທຸງຊາດ, ເພງຊາດ, ວັນຊາດ, ສະກຸນເງີນ ແລະນະຄອນຫລວງ |trans-title=หมวดที่ 10 ภาษา อักษร เครื่องหมายชาติ ธงชาติ เพลงชาติ วันชาติ สกุลเงิน และนครหลวง] (ภาษาลาว)|language=lo {{ลิงก์เสีย|archive-url=https://web.archive.org/web/20071009124815/http://www.smepdo.org/lao/law_regulations/lao_consititution/part10.html |archive-date=9 October 2007}}</ref>
 
== ตราแผ่นดินของลาวในอดีต ==
บรรทัด 35:
=== แหล้ แดงตาวัน ===
ตราประจำ[[พระราชอาณาจักรลาว]]เป็นตราวงกลม บรรจุรูปช้างสามเศียรยืนแท่น ขนาบด้วยเครื่องสูง (ฉัตร) และเครื่องราชูปโภค ในบางที่จะใช้รูปอย่างเดียวกับสัญลักษณ์ใน[[ธงชาติลาว]]ยุคนั้น คือ รูปช้าง 3 เศียรยืนแท่นภายใต้พระมหาเศวตฉัตร
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ธงชาติลาว]]
* [[เพลงชาติลาว]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Coats of arms of Laos}}
 
 
{{ตราแผ่นดินประเทศทวีปเอเชีย}}