ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เพื่อขยายความการมีส่วนร่วมของประชาชน
บรรทัด 36:
'''[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] พุทธศักราช 2540''' เป็นกฎหมายสูงสุดว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครอง[[ประเทศไทย]]ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ฉบับที่ 16 [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]ทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ [[11 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2540]] ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงแล้ว ด้วย[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|การรัฐประหาร]] เมื่อวันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2549]] [[คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] ได้ออกประกาศ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549]] ทั้งนี้คณะปฏิรูปฯได้ออกประกาศคงบทบัญญัติบางหมวดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2549 ไว้ภายหลัง
 
รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540 นี้ถือเป็นรัฐธรรมนูญที่ริเริ่มขึ้นโดย[[พรรคชาติไทย]] นาย[[บรรหาร ศิลปอาชา]]นายกรัฐมนตรีได้แต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปการเมืองเข้ามาดำเนินการและได้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมา และมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 99 คน โดย 76 คนเป็นตัวแทนของแต่ละจังหวัด และอีก 23 คนมาจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์ ซึ่งถือว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่มาจากการเลือกตั้งฉบับเดียวของประเทศไทย โดยก่อนหน้านี้ 15 ฉบับมาจากคณะรัฐมนตรีที่มาจากการแต่งตั้งหรือ[[รัฐบาลทหาร]] รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวถูกเรียกว่าเป็น "รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน" เนื่องจากการมีส่วนร่วมของประชาชนในการร่าง<ref name="Criminal Justice">Kittipong Kittayarak, [http://www.unafei.or.jp/english/pdf/PDF_rms/no60/ch06.pdf The Thai Constitution of 1997 and its Implication on Criminal Justice Reform]</ref> แต่ยังไงก็ตามประชาชนไม่ได้เป็นผู้ลงมติรับรัฐธรรมนูญฉบับนี้
 
== ประวัติ ==