ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความคุ้มกันแก่พระมหากษัตริย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Bact (คุย | ส่วนร่วม)
ในประเทศจีน
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 14:
 
ในประเทศ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]เป็นจุดกำเนิดตามประวัติศาสตร์ของอำนาจหน้าที่ซึ่งสร้างศาลขึ้นมา กฎนี้แสดงออกทั่วไปในภาษิตกฎหมาย rex non potest peccare หมายถึง พระมหากษัตริย์จะทรงกระทำผิดไม่ได้ (the king can do no wrong)<ref>{{Cite web|url=https://books.google.com/books?id=ag4yAAAAIAAJ&printsec=frontcover&dq=herbert+broom+legal+maxims&hl=en&sa=X&ei=pE3xVIeOEKzgsASJ9oGADw&ved=0CC0Q6AEwAg#v=onepage&q&f=false|title=A Selection of Legal Maxims, Classified and Illustrated|first=Herbert|last=Broom|date=March 25, 1845|publisher=T. & J.W. Johnson|via=Google Books}}</ref>
 
== ตามประเทศ ==
 
=== จีน ===
 
ประเทศจีนอ้างอย่างสม่ำเสมอว่า หลักการพื้นฐานข้อหนึ่งของกฎหมายระหว่างประเทศนั้น มีเพื่อให้รัฐทั้งหลาย รวมไปถึงทรัยพ์สินของรัฐเหล่านั้น ได้มีความคุ้มกันองค์อธิปัตย์โดยสมบูรณ์ (absolute sovereign immunity) จีนต่อต้านการคุ้มกันองค์อธิปัตย์แบบมีข้อจำกัด (restrictive sovereign immunity) จีนยืนยันว่ารัฐหนึ่งอาจสละความคุ้มกันของตนได้ด้วยการประกาศโดยสมัครใจ แต่หากมีกรณีที่รัฐบาลเข้าแทรกแซงในคดีความ (เช่น การประท้วง) กรณีดังกล่าวจะต้องไม่ถูกมองว่าเป็นการสละเอกสิทธิ์การคุ้มกัน<ref>{{Cite web|url=https://pkulaw.cn/fulltext_form.aspx?Db=art&Gid=5ac2df3ef4d97ec5a5a46c01f7891272bdfb|title=主权豁免的中国立场|last=何|first=志鹏|date=|website=|publisher=|access-date=}}</ref> เคยมีกรณีที่บริษัทของจีนที่มีรัฐเป็นเจ้าของและถือว่ามีความสำคัญต่อกิจการของรัฐ ได้อ้างความคุ้มกันองค์อธิปัตย์ ในคดีความที่บริษัทเหล่านั้นถูกฟ้องในศาลต่างประเทศ มุมมองของจีนต่อเรื่องนี้คือ ความคุ้มกันองค์อธิปัตย์เป็นสิทธิและประโยชน์ที่ชอบด้วยกฎหมาย ที่องคาพยพของจีนมีหน้าที่จะปกป้องรักษา<ref>{{Cite web|url=http://www.fmprc.gov.cn/mfa_eng/xwfw_665399/s2510_665401/2511_665403/t1362394.shtml|title=Foreign Ministry Spokesperson Lu Kang’s Regular Press Conference on May 11, 2016|last=|first=|date=|website=Ministry of Foreign Affairs of the People's Republic of China|publisher=|access-date=}}</ref> ตัวอย่างของบริษัทของจีนที่รัฐเป็นเจ้าของที่เคยอ้างความคุ้มกันองค์อธิปัตย์ เช่น วิสาหกิจอุตสาหกรรมอากาศยานจีน (Aviation Industry Corporation of China - AVIC) และบรรษัทวัสดุก่อสร้างแห่งชาติจีน (China National Building Materia)<ref>{{Cite web|url=http://www.abc.net.au/news/2016-05-12/chinese-state-owned-firms-claim-sovereign-immunity-in-us-court/7408514|title=Chinese state-owned firms clain 'sovereign immunity' in US courts with foreign ministry's backing|last=|first=|date=12 May 2016|website=|publisher=|access-date=}}</ref>
 
== อ้างอิง ==