ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความคุ้มกันแก่พระมหากษัตริย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Bact (คุย | ส่วนร่วม)
ใช้คำว่า องค์อธิปัตย์ สำหรับ sovereign
บรรทัด 1:
'''ความคุ้มกันที่ให้แก่พระมหากษัตริย์องค์อธิปัตย์''' ({{lang-en|sovereign immunity,}}) หรือ '''ความคุ้มกันพระมหากษัตริย์''' ({{lang-en|crown immunity}}) เป็นหลักความคิดทางกฎหมายว่าพระมหากษัตริย์[[องค์อธิปัตย์]]หรือรัฐ ไม่สามารถกระทำผิดกฎหมายได้ และมีความคุ้มกันต่อการฟ้องคดีแพ่งหรืออาญา มีการระบุไว้ในกฎหมายสมัยใหม่ภายในเขตอำนาจศาลของตัวเอง สำหรับกฎทำนองเดียวกันที่เข้มกว่าเกี่ยวกับ ว่าด้วยศาลต่างประเทศชื่อดินแดน เรียกว่า[[ความคุ้มกันแห่งรัฐ]] ({{lang-en|state immunity}})
 
ในความหมายเก่า ความคุ้มกันที่ให้แก่พระมหากษัตริย์เป็นหลักการที่มาดั้งเดิมของความคุ้มกันแห่งรัฐที่อาศัยมโนทัศน์คลาสสิก[[อำนาจอธิปไตย]]ในแง่ที่ว่าองค์อธิปัตย์ไม่สอาจอยู่ภายใต้เขตอำนาจศาลอื่นโดยปราศจากความยินยอมของผู้นั้น
 
ความคุ้มกันที่ให้แก่พระมหากษัตริย์องค์อธิปัตย์แบ่งได้เป็นสองรูปแบบ
# ความคุ้มกันจากคดี หมายถึง องค์อธิปัตย์หรือผู้แทนไม่สามารถเป็นจำเลยหรืออยู่ในบังคับของกระบวนพิจารณาคดีของศาล
# ความคุ้มกันจากการบังคับใช้ หมายถึง แม้บุคคลชนะคดีต่อองค์อธิปัตย์หรือรัฐ แต่คำพิพากษานั้นไม่อาจบังคับใช้ได้
 
ความคุ้มกันที่ให้แก่พระมหากษัตริย์องค์อธิปัตย์ของรัฐหนึ่งสามารถสละได้ โดย
* ความตกลงลายลักษณ์ก่อนหน้า
* การยื่นฟ้องคดีโดยไม่อ้างความคุ้มกัน