ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
→‎วัคซีน: เติมลิงก์ไปยังบทความวัคซีน
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
→‎วัคซีน: ลิงก์เลียนวิกิอังกฤษ
บรรทัด 628:
=== วัคซีน ===
{{บทความหลัก|วัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019}}
{{ดูด้วย|วัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019#แพลตฟอร์มเทคโนโลยี}}
ยังไม่มีวัคซีนให้ใช้ แต่หน่วยงานต่าง ๆ กำลังพัฒนาสูตรวัคซีนที่มีคุณสมบัติอย่างแข็งขัน มีการนำงานก่อนหน้านี้เกี่ยวกับ SARS-CoV มาใช้ประโยชน์เพราะ SARS-CoV และ SARS-CoV-2 ต่างใช้ตัวรับ ACE2 เพื่อเข้าสู่เซลล์มนุษย์ทั้งคู่<ref>{{cite book | vauthors=Cascella M, Rajnik M, Cuomo A, Dulebohn SC, Di Napoli R | chapter=Features, Evaluation and Treatment Coronavirus (COVID-19) | title=StatPearls [Internet] | chapter-url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK554776/ |date=March 2020 | publisher=StatPearls |pmid= 32150360 | id=Bookshelf ID: NBK554776 | name-list-format=vanc}}</ref> กำลังมีการสอบสวนยุทธศาสตร์การฉีดวัคซีนสามยุทธศาสตร์ อย่างแรก ผู้วิจัยมุ่งสร้างวัคซีนไวรัสทั้งตัว การใช้ไวรัสดังกล่าวไม่ว่าเป็นแบบชนิดเชื้อตายมุ่งกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองของภูมิคุ้มกันร่างกายมนุษย์ต่อการติดเชื้อโควิด-19 ใหม่ในทันที ยุทธศาสตร์ที่สอง เสนอวัคซีนหน่วยย่อยซึ่งมึ่งสร้างวัคซีนที่ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันไวต่อหน่วยย่อยบางหน่วยของไวรัส ในกรณีของ SARS-CoV-2 การวิจัยมุ่งเน้นโปรตีนหนามเอสที่ช่วยให้ไวรัสรุกล้ำตัวรับเอ็นไซม์ ACE2 ยุทธศาสตร์ที่สามคือวัคซีนกรดนิวคลีอิก (วัคซีนดีเอ็สเอหรืออาร์เอ็นเอ ซึ่งเป็นเทคนิคใหม่สำหรับสร้างวัคซีน) วัคซีนขั้นทดลองจากยุทธศาสตร์ใด ๆ ข้างต้นจะต้องทดสอบความปลอดภัยและประสิทธิผลก่อนทั้งสิ้น<ref name="Chen Strych Hotez Bottazzi p.">{{cite journal | vauthors = Chen WH, Strych U, Hotez PJ, Bottazzi ME | title = The SARS-CoV-2 Vaccine Pipeline: an Overview | journal = Current Tropical Medicine Reports | pages = 1–4 | date = March 2020 | pmid = 32219057 | pmc = 7094941 | doi = 10.1007/s40475-020-00201-6 | doi-access = free | name-list-format=vanc}}</ref>