ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนไปใช้เลขอารบิก
บรรทัด 27:
ครั้น เมื่อปี [[พ.ศ. 2414]] เจิม แสงชูโต ได้รับยศนายร้อยตรี ตำแหน่งผู้บังคับกองร้อยที่ 6 มีบรรดาศักดิ์เป็น "หลวงศัลยุทธสรกรร" และตามเสด็จประพาสอินเดีย จึงได้เปลี่ยนบรรดาศักดิ์ใหม่เป็น "หลวงศัลยุทธวิธีการ" โดยต่อมา ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็น "จมื่นสราภัยสฤษดิ์การ" เนื่องจากเป็นอุปทูตไปยัง[[จาการ์ตา|เมืองปัตตาเวีย]]
 
ต่อมาใน ปี [[พ.ศ. 2421]] รัฐบาลไทยกับกงสุลอังกฤษเกิดข้อบาดหมางกัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้[[เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)]] เป็นราชทูตออกไปยังประเทศอังกฤษ และจมื่นสราภัยสฤษดิ์การเป็นอุปทูตร่วมคณะ จนกระทั่งเรื่องราวสงบเรียบร้อย จึงได้รับความดีความชอบ เลื่อนเป็น "จมื่นไวยวรนาถ" หัวหมื่นมหาดเล็กเวรฤทธิ์ ถือศักดินา ๑๐๐๐1000 เมื่อวันพฤหัสบดี เดือนอ้าย ขึ้นเจ็ดค่ำ ปีเถาะเอกศก จุลศักราช ๑๒๔๑1241<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2427/008/68.PDF พระราชทานสัญญาบัตรในปีเถาะเอกศก (หน้า ๗๐70)] </ref>
 
ปี [[พ.ศ. 2426]] เกิดเหตุโจรผู้ร้ายชุกชุมที่เมืองสุพรรณบุรี จมื่นไวยวรนาถได้รับมอบหมายให้ไปปราบ ซึ่งสามารถปราบได้สำเร็จ รวมทั้งปราบโจรผู้ร้ายจากทางหัวเมืองตะวันออกด้วย ในปี [[พ.ศ. 2428]] ยังได้รับหน้าที่ให้เป็นแม่ทัพปราบฮ่อที่หัวเมืองลาว และในปี [[พ.ศ. 2430|พ.ศ.]] 2436
บรรทัด 35:
จมื่นไวยวรนารถได้ริเริ่มวางแผนการ ก่อตั้งโรงไฟฟ้าขึ้นใช้ในกองทัพบก และเชิญชวนให้มีการเข้าหุ้นตั้งโรงไฟฟ้า ซึ่งท่านนำไฟฟ้ามาใช้ ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยในปี [[พ.ศ. 2433]] มีการจัดตั้งโรงไฟฟ้า ที่วัดเลียบ จนกระทั่งกิจการไฟฟ้าก้าวหน้ามากขึ้น เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ทำให้ประชาชนทั่วไป ได้รับความสะดวกสบาย และมีไฟฟ้าใช้กันเรื่อยมา นอกจากนี้ ยังเป็นผู้ดำเนินการจัดตั้งโรงทหารหน้า (ปัจจุบัน เป็นที่ตั้งของกระทรวงกลาโหม) โดยแต่เดิม เป็นที่ตั้งของฉางหลวงเก่าด้วย
 
ภายหลัง จากการปราบ[[กบฏฮ่อ]] ได้สำเร็จถึง 2 ครั้ง ในปี [[พ.ศ. 2435]] จึงได้รับพระราชทานโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นเสนาบดีกระทรวงเกษตร และต่อมาในปี [[พ.ศ. 2439]] จึงได้รับการโปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น ''เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี นฤบดีมหาสวามิภักดิ์ สัตยรักษ์เมตยาชวาศรัย ยุทธสมัยสมันตโกศล อณิกมณฑลอุขสุปรีย์ เสนานีอุดมเดช พิเศษสาธุคุณสุนทรพจน์ อดุลยยศเสนาบดี ศรีรัตนไตรยวุฒิธาดา อภัยพิริยปรากรมพาหุ''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2439/034/413.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ในการพระราชทานสุพรรณบัตรและหิรัญบัตร], เล่ม ๑๓13, ตอน ๓๔34, ๒๒22 พฤศจิกายน ๒๔๓๙2439, หน้า ๖๑๔614</ref> ดำรงศักดินา 10,000 ต่อมาได้รับหน้าที่เป็นแม่ทัพ ไปปราบ[[กบฏเงี้ยวเมืองแพร่]] ซึ่งก่อการจลาจลที่[[หัวเมืองเหนือ]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2445]]<ref>ดูต่อที่ [http://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOH/article/view/7975/7160 ปรีดี หงษ์สต้น. (2559, ส.ค.-2560, ก.ค.). สมบูรณาญาสิทธิราชย์ปราบเงี้ยว พ.ศ. 2445: กึ่งอาณานิคม การใช้กำลังทางทหาร และความเป็นชาย. ''วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ''. 41. น. 152-162.]</ref>
 
เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี รับใช้ราชการ มาจนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ 6 โดยได้รับตำแหน่งรัฐมนตรี และได้รับพระราชทานนามสกุลว่า "แสงชูโต" ซึ่งในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 7 ได้ทรงพระราชทานยศให้เป็น "จอมพล เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี" ในฐานะที่มีคุณงามความดีต่อประเทศชาติ
บรรทัด 41:
เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีเมื่อครั้งเป็นเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าการ[[มณฑลปราจีนบุรี]] ท่านได้ยกตำแหน่ง ต.ศรีราชา ใน อ.บางพระ จ.ชลบุรี ขึ้นเป็น อ.ศรีราชา และลด อ.บางพระ เป็น ต.บางพระ สังกัด อ.ศรีราชา ท่านจึงถือเป็นผู้ก่อตั้ง[[อำเภอศรีราชา]]
 
จอมพล เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ป่วยด้วยโรคตับอ่อนพิการ ถึงอสัญกรรมเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 เย็นวันรุ่งขึ้น [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต|สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] เสด็จพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ ประกอบโกศไม้สิบสองตั้งบนชั้น 2 ฉัตรเบญจา 10 คัน พระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมมีกำหนด 15 วัน<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=48|issue=ง|pages=1083-5|title=ข่าวถึงอสัญกรรม|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2474/D/1083.PDF|date=5 กรกฎาคม 2574|language=ไทย}}</ref> ต่อมาวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2475 เวลา 17.30 น. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ในการพระราชทานเพลิงศพ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันต่อมา เวลา 7.00 น. เจ้าภาพจึงเก็บอัฐิ<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=49|issue=0 ง|pages=4286-7|title=หมายกำหนดการ ที่ ๑๐10/๒๔๗๕2475 พระราชทานเพลิงศพ พระภิกษุทรงสมณศักดิ์ และ ข้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส พุทธศักราช ๒๔๗๖2476|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2475/D/4283.PDF|date=12 มีนาคม 2575|language=ไทย}}</ref>
 
ต่อมาค่ายสุรศักดิ์มนตรี จังหวัดลำปาง ได้สร้างอนุสาวรีย์ขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์ ในการเป็นแม่ทัพสำคัญที่ได้ยกพลไปปราบกบฏเงี้ยว และได้มาพัก ณ บริเวณค่ายสุรศักดิ์มนตรีแห่งนี้ โดยได้ทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 27 มีนาคม [[พ.ศ. 2504]]<ref>http://www.pakxe.com/home/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=803 ประวัติจอมพลเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี อ้าง 2010-12-21</ref>เทศบาลเมืองศรีราชาและประชาชนชาวศรีราชานำโดย นายอำเภอในสมัยนั้นได้ร่วมกันหล่ออนุสาวรีย์เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีขึ้นเพื่อประดิษฐานบริเวณหน้าที่ว่าการเทศบาลและที่มุขทิศตะวันตกพระอุโบสถวัดศรีมหาราชา
บรรทัด 64:
* พ.ศ. 2439 เป็นเจ้าพระยา
* พ.ศ. 2441 นายพลโท <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2441/026/279_1.PDF พระราชทานสัญญาบัตรทหาร] </ref>
* 20 สิงหาคม พ.ศ. 2454 - มหาอำมาตย์เอก (นอกราชการสังกัดกระทรวงเกษตราธิการ)<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/1022.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศพระราชทานยศ แก่ข้าราชการกระทรวงเกษตราธิการ (หน้า ๑๐๒๖1026)] </ref>
* 28 ธันวาคม พ.ศ. 2461 นายหมวดเอก<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2461/D/2727.PDF พระราชทานยศเสือป่า (หน้า ๒๗๓๗2737)] </ref>
* 31 มีนาคม พ.ศ. 2468 (2469 นับแบบปัจจุบัน) จอมพล <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2469/D/432.PDF พระราชทานยศทหารบก] </ref>
 
เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ได้ให้เงินแก่[[โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร]] ปีละ 100 บาท สำหรับเป็นทุนเล่าเรียนแก่นักเรียนที่สอบไล่ได้ที่ 1 ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5,6,7 ตั้งแต่พ.ศ. 2464 ตลอดจนชีวิตของท่าน เรียกชื่อทุนเล่าเรียนนี้ว่า"สุรศักดิ์สกอลาร์ชิป"<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2463/D/3773.PDF แจ้งความกระทรวงศึกษาธิการ แผนกกรมสามัญศึกษา เรื่อง ให้เงินเป็นทุนเล่าเรียนแก่นักเรียนโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร], เล่ม ๓๗37, ตอน 0, 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๓2463, หน้า๓๗๗๓3773 </ref>
 
== ครอบครัว ==
บรรทัด 76:
จอมพล มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ได้รับพระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์]] ดังนี้ <ref name="ผู้บัญชาการทหารบก ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน">[http://www.rta.mi.th/command/command2.htm ผู้บัญชาการทหารบก ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน], </ref>
 
* {{ต.ม.|๒๔๒๒2422}}<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2427/060/528_1.PDF พระราชทานเครื่องราชอิสริยยศ (หน้า ๕๒๙529)] </ref>
* {{ท.ช.|๒๔๓๐2430}}<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2430/033/262_1.PDF พระราชทานบำเหน็จความชอบแม่ทัพนายกอง และเจ้านครหลวงพระบางทูลลา (หน้า ๒๖๔264)] </ref>
{{ป.จ.ฝ่ายหน้า}}
{{ป.ช.|2444}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2444/046/873_1.PDF พระราชทานเครื่องราชอิศริยาภรณ์], เล่ม ๑๘18, ๑๖16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๔๔2444, หน้า ๘๗๓873</ref>
* {{ป.ม.|๒๔๓๒2432}} (เดิมชื่อ มหาสุราภรณ์)<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2432/052/451.PDF พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์] </ref>
* {{ร.ป.ฮ.|๒๔๔๑2441}} <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2441/026/282.PDF พระราชทานเหรียญปราบฮ่อ] </ref>
* {{ร.จ.พ.|๒๔๔๒2442}}<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2442/026/362.PDF พระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา] </ref>
{{ร.จ.ม.}}
{{ม.ป.ร.5|๒๔๔๙2449}}<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2449/024/613_1.PDF พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลที่ 4] </ref>
* {{จ.ป.ร.1}}
* {{ว.ป.ร.1|๒๔๖๕2465}}<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2466/D/278.PDF ส่งเหรียญรัตนาภรณ์ไปพระราชทาน] </ref>
* {{ป.ป.ร.2|๒๔๗๐2470}}<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2470/D/221.PDF พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์] </ref>
{{ร.ด.ม.(พ) ทหาร|2449}}<ref name="รดม">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2449/024/613_2.PDF พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา], เล่ม ๒๓23, ตอน ๒๔24, 9 กันยายน พ.ศ. ๒๔๔๙2449, หน้า ๖๑๓613 </ref>
{{ร.ด.ม.(ผ) ทหาร|2449}}<ref name="รดม"/>
{{ร.ด.ม.(ห) ทหาร|2449}}<ref name="รดม"/>
* [[ไฟล์:Dvidhabhisek Medal ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญทวีธาภิเศก]] ชั้นทองคำ
* [[ไฟล์:Record Reign Medal (Thailand) ribbon.png|80px|border]] [[เหรียญรัชมงคล]] ชั้นทองคำ
* {{ร.ศ.ท.|๒๔๖๙2469}}<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2469/D/438.PDF ส่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไปพระราชทาน (หน้า ๔๔๐440)] </ref>
* {{ต.ช.|๒๔๒๕2425}}<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2427/064/556.PDF พระราชทานตราเครื่องราชอิสริยยศ] </ref>
 
== อ้างอิง ==