ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมัชชาแห่งชาติ (ประเทศฝรั่งเศส)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "สภาผู้แทนราษฎร" → "สมัชชาแห่งชาติ" +แทนที่ "ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส" → "ประธานาธิบดีฝรั่งเศส" ด้วยสจห.
บรรทัด 2:
| สีพื้นหลัง = #DC143C
| สีอักษร = #FFFFFF
| ชื่อ = สภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสชาติ
| ชื่อในภาษาแม่ = Assemblée Nationale
| ชื่อโดยทับศัพท์เป็นอักษรไทย = อาซ็องเบฺลนาซียอนาล
| สภานิติบัญญัติ =
| ภาพตรา = Logo de l'Assemblée nationale française.svg
บรรทัด 71:
| หมายเหตุ =
}}
{{ความหมายอื่น|ปัจจุบัน|สมัชชาแห่งชาติในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส|สมัชชาแห่งชาติ (การปฏิวัติฝรั่งเศส)}}
'''สภาผู้แทนราษฎรแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส''' ({{lang-fr|Assemblée Nationale}}, {{IPA-fr|asɑ̃ble nasjɔnal}}; {{lang-en|National Assembly}}) เป็น[[สภาล่าง]]ใน[[รัฐสภาฝรั่งเศส]] ประกอบด้วยสมาชิกห้าร้อยเจ็ดสิบเจ็ดคน เรียกว่า "ผู้แทน" ({{lang-fr|député}}; {{lang-en|deputy}}) ผู้แทนสองร้อยแปดสิบเก้าคนถือเป็นจำนวนเสียงส่วนใหญ่ในสภา และมีประธานสภาคนหนึ่งเป็นผู้ควบคุมการประชุม และมีรองประธานสภาอีกหนึ่งคนหรือกว่านั้น
 
'''สภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสชาติ''' ({{lang-fr|Assemblée Nationale}}, {{IPA-fr|asɑ̃ble nasjɔnal}}; {{lang-en|National Assembly}}) เป็น[[สภาล่าง]]ในของ[[รัฐสภาฝรั่งเศส]] เทียบได้กับสภาผู้แทนราษฎรในประเทศอื่น สมัชชาแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกห้าร้อยเจ็ดสิบเจ็ดคน เรียกว่า "ผู้แทน" ({{lang-fr|député}}; {{lang-en|deputy}}) ผู้แทนสองร้อยแปดสิบเก้าคนถือเป็นจำนวนเสียงส่วนใหญ่ในสภา และมีประธานสภาคนหนึ่งเป็นผู้ควบคุมการประชุม และมีรองประธานสภาอีกหนึ่งคนหรือกว่านั้น
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี โดยจะสิ้นสุดวาระในวันอังคารของสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนมิถุนายน ปีที่ 5 นับแต่วันเลือกตั้ง การเลือกตั้งครั้งใหม่ต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน ก่อนที่สภาผู้แทนราษฎรชุดเดิมจะหมดอายุลง [[ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส|ประธานาธิบดี]]สามารถประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรได้ ภายหลังจากที่ได้ปรึกษากับนายกรัฐมนตรีและประธานสภาทั้งสองแล้ว โดยเมื่อมีรัฐกฤษฎีกาประกาศยุบสภา จะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปอย่างน้อยที่สุดภายใน 20 วัน แต่ต้องไม่เกิน 40 วัน
 
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี โดยจะสิ้นสุดวาระในวันอังคารของสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนมิถุนายน ปีที่ 5 นับแต่วันเลือกตั้ง การเลือกตั้งครั้งใหม่ต้องดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 60 วัน ก่อนที่สภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติชุดเดิมจะหมดอายุลง [[ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส|ประธานาธิบดี]]สามารถประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติได้ ภายหลังจากที่ได้ปรึกษากับนายกรัฐมนตรีและประธานสภาทั้งสองแล้ว โดยเมื่อมีรัฐกฤษฎีกาประกาศยุบสภา จะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปอย่างน้อยที่สุดภายใน 20 วัน แต่ต้องไม่เกิน 40 วัน
อนึ่ง ในกรณีที่มีการยุบสภา หรือสมาชิกลาออก หรือตาย หรือไปปฏิบัติหน้าที่อื่นซึ่งรวมไปถึงงานของรัฐบาล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติอาจจะมีการดำรงตำแหน่งน้อยกว่า 5 ปีได้
 
สภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติประชุม ณ [[Palais Bourbon|พระราชวังบูร์บง]] ริมฝั่ง[[แม่น้ำแซน]] ใน[[กรุงปารีส]]
 
==ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร==
ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5]] นั้นได้มีการเพิ่มอำนาจของฝ่ายบริหารมากขึ้นเปรียบเทียบกับ[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับก่อนๆ (สาธารณรัฐที่ 3 และสาธารณรัฐที่ 4)<ref>William G. Andrews, ''[http://www.jstor.org/stable/439454 The Constitutional Prescription of Parliamentary Procedures in Gaullist France]'', Legislative Studies Quarterly, Vol. 3, No. 3 (Aug. 1978), pp. 465–506</ref>
 
[[ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส]]นั้นสามารถใช้อำนาจตัดสินใจ[[ยุบสภา]]และจัดการเลือกตั้งใหม่ได้ โดยใช้เป็นวิธีการแก้ปัญหาความขัดแย้งที่สภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาตินั้นไม่สามารถหาทางออกได้ ซึ่งการยุบสภานั้นเกิดขึ้นเป็นบางครั้ง การยุบสภาครั้งสุดท้ายนั้นเกิดขึ้นในสมัยของประธานาธิบดี[[ฌัก ชีรัก]] ในปี[[ค.ศ. 1997]] ภายหลังจากการขาดเสียงสนับสนุนที่เพียงพอต่อ[[นายกรัฐมนตรี]][[อาแล็ง ฌูว์เป]] อย่างไรก็ตามแผนการยุบสภาครั้งนี้นั้นทำให้เกิดปัญหามากขึ้นอีกเนื่องจากพรรคการเมืองเสียงข้างมากนั้นกลับกลายเป็นฝั่งตรงข้ามแทน
 
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนั้นสมัชชาแห่งชาติสามารถใช้อำนาจถอดถอนฝ่ายบริหาร (ซึ่งประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี) ผ่านการเสนอญัตติไม่ไว้วางใจ (motion de censure) ซึ่งเป็นเหตุให้นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีนั้นจะต้องได้รับการสนับสนุนจากพรรคการเมืองเสียงข้างมากหรือพรรคร่วมฯในสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติ ในกรณีที่ประธานาธิบดีกับสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาตินั้นมาจากพรรคการเมืองฝั่งตรงข้ามกัน จะเกิดเหตุการณ์ที่นำไปสู่สถานการณ์การบริหารร่วมกัน "Cohabitation" ซึ่งเกิดขึ้นทั้งหมดสามครั้ง ย่อมทำให้การบริหารประเทศเป็นไปอย่างลำบาก ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับประธานาธิบดีมีค่อนข้างมาก ดังปรากฏให้เห็นในปี 1997-2002 ที่ประธานาธิบดี[[ฌัก ชีรัก]] (Jacques Chirac) เป็นฝ่ายขวา ในขณะที่นายกรัฐมนตรี[[ลียอแนล ฌ็อสแป็ง]] (Lionel Jospin) รัฐบาลและเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติเป็นฝ่ายซ้าย ซึ่งต่อไปจะมีโอกาสเกิดน้อยลงภายหลังจากการปรับวาระของประธานาธิบดี และสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติให้อยู่ในช่วงเดียวกัน
 
การเสนอญัตติไม่ไว้วางใจนั้นเกิดขึ้นเป็นช่วงๆโดยพรรคการเมืองฝ่ายค้านซึ่งไม่เห็นด้วยกับการบริหารราชการแผ่นดินที่ไม่เหมาะสม โดยส่วนใหญ่มักจะไม่สำเร็จ เนื่องจากสมาชิกพรรคการเมืองนั้นจะต้องทำตามมติพรรค เพื่อมิให้มีการถอดถอนฝ่ายบริหารได้จากสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติ และตั้งแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐที่ 5 นั้นมีการผ่านมติไม่ไว้วางใจสำเร็จเพียงครั้งเดียวในปีค.ศ. 1962 หลังจากความพยายามในการแก้รัฐธรรมนูญเกี่ยวกับที่มาของประธานาธิบดี<ref>Proceedings of the National Assembly, [http://archives.assemblee-nationale.fr/1/cri/1962-1963-ordinaire1/003.pdf 4 October 1962], second sitting; vote tally on p. 3268. p. 38 in the PDF file</ref> เป็นเหตุให้ประธานาธิบดี[[ชาร์ล เดอ โกล]] ใช้อำนาจยุบสภาภายในไม่กี่วันต่อมา<ref>[http://www.legifrance.gouv.fr/jopdf/common/jo_pdf.jsp?numJO=0&dateJO=19621010&numTexte=&pageDebut=09818&pageFin= Decree of 9 October 1962]</ref>
 
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาตินั้นสามารถตั้งกระทู้ และถามกระทู้สดเพื่อให้รัฐมนตรีมาตอบได้ โดยทุกวันพุธช่วงบ่ายจะเป็นช่วงเวลาการตั้งกระทู้สด ซึ่งได้รับการถ่ายทอดสดผ่านโทรทัศน์ ซึ่งชาวฝรั่งเศสมักจะเห็นว่าเป็นเพียงการแสดงเท่านั้น เนื่องจากพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาลจะตั้งคำถามเชิงชม ในขณะที่ฝ่ายค้านนั้นมักจะตั้งคำถามเพื่อให้รัฐบาลขายหน้า<ref>Anne-Laure Nicot, ''[http://www.cairn.info/revue-mots-2007-1-p-9.htm La démocratie en questions. L’usage stratégique de démocratie et de ses dérivés dans les questions au gouvernement de la 11e Législature]'', Mots. Les langages du politique, E.N.S. Editions, n° 83 2007/1, pp. 9 à 21</ref>
 
==การเลือกตั้ง==
[[ไฟล์:Paris assemble nationale.JPG|thumb|220px|[[พระราชวังบูร์บง]] ซึ่งเป็นที่ประชุมของสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติ]]
ตั้งแต่ปีค.ศ. 1988 เป็นต้นมา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาตินั้นมาจาก[[การเลือกตั้งทั่วไป]]ในระบบสองรอบแบ่งตาม[[เขตเลือกตั้ง]] โดยมีวาระละ 5 ปี ในแต่ละเขตเลือกตั้งประกอบด้วยจำนวนประชากรประมาณ 100,000 คน กฎหมายเลือกตั้งปีค.ศ. 1986 ระบุว่าจำนวนประชากรระหว่างเขตเลือกตั้งใดเลือกตั้งหนึ่งนั้น จะต้องไม่เหลื่อมกันมากกว่าร้อยละยี่สิบของจำนวนประชากรเฉลี่ยในแต่ละเขตเลือกตั้งของในแต่ละ[[จังหวัดในประเทศฝรั่งเศส|จังหวัด]]<ref>Stéphane Mandard, « En 2005, un rapport préconisait le remodelage des circonscriptions avant les législatives de 2007 », ''[[Le Monde]]'', 7 June 2007.</ref>
 
อย่างไรก็ตาม การแบ่งเขตเลือกตั้งนั้นยังไม่ได้มีการแก้ไขในช่วงระหว่างปีค.ศ. 1982 จนถึงปีค.ศ. 2009 ซึ่งในระหว่างนั้นมีความเปลี่ยนแปลงทางจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นมาก จึงทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำระหว่างเขตเลือกตั้งที่มีจำนวนประชากรน้อยกว่าซึ่งมักจะตั้งอยู่ตามเมืองเล็กๆ กับเขตเลือกตั้งที่ตั้งอยู่ในเมืองใหญ่ ตัวอย่างเช่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติที่เป็นตัวแทนประชากรมากที่สุด มาจาก[[จังหวัดวาล-ดวซ]] โดยมีจำนวนประชากรผู้มีสิทธิออกเสียงถึง 180,000 คน และสมาชิกที่เป็นผู้แทนประชากรจากเขตเลือกตั้งที่ผู้มีสิทธิออกเสียงจำนวนน้อยที่สุด มาจากจังหวัดโลแซร์ ซึ่งประกอบด้วยผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวน 34,000 คน
 
การแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่นั้นเกิดขึ้นในปีค.ศ. 2009<ref>[http://www.legifrance.gouv.fr/affichTexte.do?cidTexte=JORFTEXT000020915491 Ordonnance n° 2009-935 du 29 juillet 2009 portant répartition des sièges et délimitation des circonscriptions pour l'élection des députés]; see the [http://www.journal-officiel.gouv.fr/publication/2009/0627/joe_20090627_0147_sx00.html?verifBaseDir=/verifier&notVerif=0&verifMod=load.php&verifExplMod=attente.php&ficBaseDir=../publication/2009/0627&joDate=27/06/2009#test238 opinion] of the advisory commission on redistricting.</ref> และมีข้อกังขาเกิดขึ้นมากมาย<ref>Pierre Salvere, ''[http://www.tnova.fr/index.php?option=com_content&view=article&id=875 La révision des circonscriptions électorales : un échec démocratique annoncé]'', Fondation Terra Nova, 9 July 2009</ref> ยกตัวอย่างเช่น มีการเพิ่มจำนวนเขตเลือกตั้งถึง 11 เขต สำหรับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติที่อาศัยอยู่นอกประเทศฝรั่งเศส โดยยังคงมีจำนวนผู้แทนเท่าเดิมคือ 577 ที่นั่ง<ref>[http://www.diplomatie.gouv.fr/fr/les-francais-etranger_1296/elections-2012-votez-etranger_20721/elections-deputes-par-les-francais-etranger-2012_91742.html "Elections 2012 – Votez à l’étranger"], French Ministry of Foreign and European Affairs</ref><ref>[http://www.lepetitjournal.com/homepage/expat/48389-dtfrans-de-langer.html "Redécoupage électoral – 11 députés pour les Français de l'étranger"], ''Le Petit Journal'', 22 October 2009</ref>
 
ในการเลือกตั้งทั่วไปรอบแรกนั้น สมาชิกที่จะถูกเลือกต้องได้รับคะแนนอย่างน้อยร้อยละห้าสิบของจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละเขตเลือกตั้ง และจะต้องมีผู้มาใช้สิทธิอย่างน้อยร้อยละยี่สิบห้าของผู้มีสิทธิทั้งหมดในแต่ละเขต หากยังไม่มีผู้ที่รับเลือกในรอบแรก ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่มีคะแนนมากกว่าร้อยละสิบสองจุดห้าจะสามารถเข้ารับการคัดเลือกในรอบสองได้ หากยังไม่มีใครที่เข้าเกณฑ์ใดๆ ผู้สมัครรับเลือกตั้งที่มีคะแนนสูงสุดสองอันดับจะเป็นผู้มีสิทธิเข้าไปรอบที่สองได้
เส้น 105 ⟶ 107:
 
 
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด 570 คน<ref>[http://www.legifrance.gouv.fr/WAspad/UnArticleDeCode?code=CELECTOL.rcv&art=LO119 Article LO119 of the Electoral Code] {{fr icon}}</ref> 5 คนเป็นผู้แทนจาก[[อาณานิคมโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส|อาณานิคมโพ้นทะเล]] และ 2 คนจาก[[นิวแคลิโดเนีย]] ตั้งแต่ปีค.ศ. 1986
 
 
เส้น 120 ⟶ 122:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.assemblee-nationale.fr เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของสภาผู้แทนราษฎรสมัชชาแห่งชาติฝรั่งเศส] {{fr icon}}
* [http://www.senate.go.th/index-of-parliament/pages/index_france02.htm ข้อมูลวุฒิสภาสาธารณรัฐฝรั่งเศส โดยสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา]